สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น
ทุกอย่างที่อยู่นอกเหนือจากความจำเป็น คือ สิ่งฟุ่มเฟือย ฟุ่มเฟือย หมายถึง อุปสงค์สูงเกินกว่าอัตราส่วนของรายได้ ความต้องการ D รายได้ S ทุกอย่างที่อยู่นอกเหนือจากความจำเป็น คือ สิ่งฟุ่มเฟือย
รู้จักลดขนาดความต้องการลง เพื่อความอยู่รอดของครอบครัว สังคมและประเทศชาติ
การบริโภค สิ่งเสพปรนเปรอ สิ่งมีคุณค่า รู้จักบริโภค ฉลาดบริโภค บำบัดความต้องการ การบริโภค สิ่งมีคุณค่า มีประโยชน์
ความต้องการ ไร้ขอบเขตจำกัด ชอบ ไม่ชอบ ความรู้สึก
คุณค่าเทียม การบริโภค คุณค่าแท้
คนโง่ ยึดถือถ้อยคำ จึงได้แต่ความจำอันฉาบฉวย คนฉลาด ดูดซับความหมายของถ้อยคำจึงได้ความเข้าใจอันลึกซึ้ง คุณค่าแท้ คนเจ้าปัญญา กลั่นคุณค่าแห่งความหมายเป็นคุณสมบัติแห่งตน จึงได้พัฒนาการอันยิ่งใหญ่
หลักการแสวงหาทรัพย์ ประกอบอาชีพในทางที่ชอบ : สัมมาอาชีวะ อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความขยัน (ขยันหา) อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา (รู้จักเก็บ) กัลยาณมิตตตา มีเพื่อนที่ดี สมชีวิตา ใช้ชีวิตสม่ำเสมอ ประกอบอาชีพในทางที่ชอบ : สัมมาอาชีวะ การงานที่ไม่มีโทษ ไม่มีเวรภัยต่อใคร
มิจฉาวณิชชา คือ การค้าขายที่ผิด หรือไม่ชอบธรรม หมายถึง บุคคลไม่ควรค้าขายสิ่งเหล่านี้ ซึ่งถือว่าเป็นอันตรายต่อเพื่อนมนุษย์ต่อสัตว์และต่อสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย สัตถวณิชชา คือ การขายอาวุธ ได้แก่ อาวุธปืน อาวุธเคมี ระเบิด นิวเคลียร์ อาวุธอื่น ๆ เป็นต้น อาวุธเหล่านี้หากมีเจตนาเพื่อทำร้ายกัน จะก่อให้เกิดการทำลายล้างซึ่งกันและกัน โลกจะไม่เกิดสันติสุข สัตตวณิชชา หมายถึง การค้าขายมนุษย์ ได้แก่ การค้าขายเด็ก การค้าทาส ตลอดจนการใช้แรงงานเด็กและสตรีอย่างทารุณ มังสวณิชชา หมายถึง ค้าขายสัตว์ สำหรับฆ่าเพื่อเป็นอาหารเป็นการส่งเสริมให้ทำผิดศีลข้อที่ 1 คือการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต มัชชวณิชชา หมายถึง การค้าขายน้ำเมา ตลอดจนการค้าสารเสพติดทุกชนิด วิสวณิชชา หมายถึง การค้าขายยาพิษ ซึ่งเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ รวมทั้งเป็นอันตรายต่อสัตว์
เว้นทางแห่งความเสื่อม (อบายมุข) ไม่เอาโรงแรมเป็นบ้าน เอาภัตตาคารเป็นครัว อยากได้ แต่ไม่อยากทำ
การบริหารทรัพย์ในพุทธศาสนา ฝากออมสิน ฝังดินไว้ ใช้หนี้เก่า ให้เขากู้ และทิ้งสู่เหว พุทธวิธีบริหาร Buddhist Style in Management
ความสันโดษเป็นยอดแห่งทรัพย์ ยินดีในสิ่งที่มีอยู่ คือ ทำจิตให้พอใจภาวะรอบตัวในปัจจุบันได้ ความสันโดษ คือ เคล็ดลับของความสุข ซ่อนอยู่ในตัวเรา ไม่ต้องไปแสวงหานอกตัวเรา
จริงเช่นนั้น สวัสดี