บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
Advertisements

Center of Mass and Center of gravity
Graphic Design for Video
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
2.5 Field of a sheet of charge
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
หมายเลขโครงการ : COE ผู้พัฒนาโครงการ : นางสาวนิรมล พันสีมา รหัส
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
Object-Oriented Analysis and Design
ความเท่ากันทุกประการ
องค์ประกอบ Graphic.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย (Reference Plane and Auxiliary View)
Points, Lines and Planes
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 2
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย (Reference Plane and Auxiliary View)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
(Applications of Derivatives)
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
การออกแบบสื่อสำหรับการนำเสนอ
เนื้อหาที่มีประโยชน์ Useful Content
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection)
การสร้างแบบเสื้อและแขน
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
พีระมิด.
วงรี ( Ellipse).
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
บทที่ 7 หลักการเย็บประกอบตัวกระโปรง.
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
การเข้าไม้.
Spherical Trigonometry
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2) อ.ประทีป ชัยเสริมเทวัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

ทบทวน การฉายภาพ Orthographic การเขียนภาพ Orthographic

10. การเขียนรูปวงรีหรือเส้นโค้งในภาพฉายออร์โทกราฟิก เราสามารถเขียนเส้นโค้งของวงรีได้โดยวิธีฉายจุดจากความสัมพันธ์ของระนาบรับภาพหลักทั้ง 3 คือ ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบน ดังรูป

Quiz 3.1

Quiz 3.1

11. การเขียนมุมฉาย การเขียนมุมฉายจะสามารถเขียนมุมของเส้นขอบระนาบได้โดยตรงเท่าขนาดจริงได้ในระนาบรับภาพใดๆ ถ้าระนาบนั้นตั้งฉากกับระนาบรับภาพ แต่ถ้านอกเหนือจากนั้นแล้วจะเขียนมุมของระนาบโดยตรงไม่ได้แต่จะเขียนได้โดยต่อเส้นระหว่างจุดฉายเท่านั้น

12. การเขียนเส้นสัมผัสของระนาบตรงและระนาบโค้ง เมื่อผิวโค้งสัมผัสกับพื้นผิวระนาบตรงจะไม่มีเส้นทึบปรากฏบนระนาบรับภาพ ดังรูป

12. การเขียนเส้นสัมผัสของระนาบตรงและระนาบโค้ง

13. การเขียนโค้งลบมุม การผลิตชิ้นส่วนทางกลส่วนมากมักใช้การหล่อ ซึ่งมีความจำเป็นต้องลดส่วนที่เป็นมุมแหลมที่เกิดจากการตัดกันของพื้นผิวสองพื้นผิวให้มากที่สุด เนื่องจากส่วนที่เป็นมุมป้านจะให้ความแข็งแรงมากกว่าส่วนที่เป็นมุมแหลม ดังนั้นการลบมุมจึงมีสองแบบคือ โค้งลบมุมนอก (round) และโค้งลบมุมใน (fillet) ดังรูป

13. การเขียนโค้งลบมุม

13. การเขียนโค้งลบมุม

14. การจัดตำแหน่งภาพและการเลือกภาพฉาย การเขียนภาพฉายออร์โทกราฟิกที่สามารถให้ลายละเอียดของวัตถุได้มากพอนั้น มักจะต้องมีภาพฉายแสดงไว้อย่างสัมพันธ์กัน และควรเว้นช่องว่างระหว่างภาพในแต่ละภาพเพื่อใช้ในการบอกขนาดและระบุลักษณะเฉพาะอย่างของแต่ละภาพได้โดยไม่ซ้อนกัน ภาพฉายด้านหน้าถือเป็นภาพที่สำคัญที่สุด

15. การเขียนเส้นรอยตัดที่ไม่สำคัญ ในการเขียนภาพฉายบางครั้งอาจพบเส้นรอยตัดในลักษณะโค้งหรือเส้นตรงซึ่งเกิดจากภาพฉายที่แท้จริง แต่ในทางปฏิบัติแล้วไม่นิยมตามแนวฉายที่แท้จริง เพื่อความสะดวกในการเขียนแบบ และเนื่องจากไม่ได้เน้นถึงความสำคัญของรอยตัด ดังนั้นเส้นรอยตัดจึงเขียนด้วยเส้นตรงอย่างง่าย

16. การเขียนภาพตัดจัดแนว ชิ้นส่วนของวัสดุบางชิ้นเช่น แขน ครีบ หู ซี่ล้อ หรือรู อาจอยู่ในตำแหน่งที่ทำให้เขียนภาพฉายออร์โทกราฟิกได้ยาก ดังนั้นเพื่อความสะดวกและความสวยงามจึงนิยมหมุนแขน ครีบ หู ซี่ล้อ หรือรู ให้มาอยู่ในตำแหน่งที่สมมาตรกัน การเขียนภาพจัดแนวของครีบและหู

16. การเขียนภาพตัดจัดแนว การเขียนภาพจัดแนวของแขน

16. การเขียนภาพตัดจัดแนว การเขียนภาพจัดแนวของรู การเขียนภาพจัดแนวของครีบและรู