การเยี่ยมสำรวจตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
โครงการนำร่อง EdPex คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
การจัดการศึกษา การวิจัย การบริการทางวิชาการ 27 ตุลาคม 2551
การประกันคุณภาพการศึกษา
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
นายภมร ดรุณ นักศึกษาปริญญาเอก สารสนเทศศาสตร์ มสธ. รุ่นที่ 2
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การนำเสนอ การเยี่ยมสำรวจภายใน วันที่ 13 ตุลาคม 2552
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
K hon K aen U niversity O ffice of Q uality M anagement ผลลัพธ์ IQA_KKU 2552.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเยี่ยมสำรวจตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2553 ภาควิชาชีวเคมี

ผลการดำเนินงานในภาพรวม เป็นภาควิชาชั้นนำที่มีความเป็นเลิศในระดับสากลทั้งในด้านการเรียนการสอน และงานวิจัยเกี่ยวกับชีวเคมีทางการแพทย์ ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มุ่งมั่นในการให้การศึกษาที่เป็นเลิศ รวมทั้งทำการวิจัยที่มีความสำคัญ เพื่อประโยชน์แก่ประเทศไทย และนานาชาติ

บุคลากรของภาควิชาฯ ภาควิชาชีวเคมีมีจำนวนบุคลากร ทั้งสิ้น 47 คน ปฏิบัติงานจริง 42 คน โดยแบ่งเป็น 1. อาจารย์ประจำ 15 คน (MD – PhD 5, MD – ว.ว. 1, PhD 2, MS 1, MD 1, MD ศึกษาต่อ 5 คน) อาจารย์แพทย์ใช้ทุน 6 คน 2. นักวิทยาศาสตร์ 12 คน (ป.เอก 2, ป.โท 7, ป.ตรี 3) ผู้ปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2 คน 3. เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 1 คน พนักงานธุรการ 3 คน ช่างอิเล็คทรอนิคส์ 1 คน พนักงานทั่วไป 7 คน จำนวนอาจารย์ไม่รวมศ.ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

โครงสร้างภาควิชาฯ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ภาควิชาชีวเคมี งานการศึกษา วิจัย วิชาการ งานปฏิบัติการชีวเคมี สำนักงานภาควิชา หน่วยห้องปฏิบัติการนักศึกษาแพทย์ หน่วยธุรการ หน่วยห้องปฏิบัติการนักศึกษาปริญญาโท - เอก หน่วยสนับสนุน หน่วยพัฒนาคุณภาพ หน่วยห้องปฏิบัติการวิจัย

โครงสร้างการบริหารงานด้านการบริหารจัดการการศึกษา แยกตามหลักสูตร ระดับก่อนปริญญา หลักสูตรหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ภาควิชาฯ รับผิดชอบวิชา SIBC 211 ชีวเคมี จำนวน 6 หน่วยกิต สำหรับชั้นปีที่ 2 หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การกีฬา) หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ

โครงสร้างการบริหารงานด้านการบริหารจัดการการศึกษา แยกตามหลักสูตร ระดับหลังปริญญา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน สาขาวิชาชีวเคมี หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี (นานาชาติ) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี (นานาชาติ)

การบริหารภาควิชาด้านการศึกษา คณบดี คณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร หัวหน้าภาควิชา รองหัวหน้าภาควิชา ระดับก่อนปริญญา ระดับหลังปริญญา อาจารย์ บุคลากรสายสนับสนุน หน่วยห้องปฏิบัติการนักศึกษาแพทย์ หน่วยห้องปฏิบัติการนักศึกษาปริญญาโท - เอก หน่วยธุรการ

หมวดที่ 1 การนำองค์กร 1.1 วิธีการที่ผู้นำถ่ายทอดวิสัยทัศน์ ค่านิยม/วัฒนธรรม ทิศทางการทำงานไปสู่ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และวัฒนธรรมองค์กร จากคณะฯ หัวหน้าภาควิชา ที่ประชุมภาควิชาฯ มีการสื่อสารระหว่างกันตลอดเวลา อย่างทั่วถึง รับข้อมูล, จัดทำแผน ประชุมภาคฯ จดหมายเวียน IT (Website, e-mail) คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ทุกท่าน ดำเนินการตามแผนที่กำหนด ติดตามผลดำเนินการ และปรับปรุงพัฒนา

หมวดที่ 1 การนำองค์กร 1.2 วิธีสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ การปรับปรุงผลการทำงาน สร้างภาควิชาฯ ให้น่าอยู่เหมาะสำหรับการทำงาน,การเรียน, การวิจัยและการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง สร้างให้เกิดการทำงานเป็นทีมมากยิ่งขึ้น

ภาควิชามีการพัฒนาห้องสมุดให้ทันสมัย หลากหลาย และเพียงพอกับความต้องการของนักศึกษา

มีการจัดสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวก ความปลอดภัย การให้คำปรึกษา และความช่วยเหลือ ที่เอื้อต่อการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของบุคลกร และนักศึกษา

หมวดที่ 1 การนำองค์กร 1.2 วิธีสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ การปรับปรุงผลการทำงาน สร้างความเป็นน้ำหนึ่งอันเดียวกัน ระหว่างอาจารย์, บุคลากร และนักศึกษา ด้วยการสร้างภาควิชาฯ ให้น่าอยู่เหมาะสำหรับการทำงาน,การเรียน, การวิจัยและการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง สร้างให้เกิดการทำงานเป็นทีมมากยิ่งขึ้น พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และศักยภาพเพิ่มขึ้น

การสัมมนาเพื่อพัฒนาบุคลากรของภาควิชาฯ ภาควิชาชีวเคมี จัดให้มีการสัมมนาภาควิชาฯ มาอย่างต่อเนื่อง และสม่ำเสมอทุกปี ปีละ 1 ครั้ง โดยมีบุคลากรของภาควิชาฯ ทั้งหมดเข้าร่วมสัมมนา และมีวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้เพิ่มเติม เพื่อให้บุคลากรมีทักษะความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเป็นโอกาสในการรับฟังข้อเสนอแนะจากบุคลากรเพื่อพัฒนาปรับปรุงภาควิชาฯต่อไป ปี 2554 สัมมนาเรื่อง โครงการพัฒนาฐานข้อมูล Material Safety Data Sheet เพื่อบริหารจัดการสารเคมีในภาควิชา ปี 2553 สัมมนาเรื่อง การปลูกต้นไม้เพื่อการพัฒนาคุณภาพอากาศในที่ทำงาน : How to grow fresh air

โครงการพัฒนาคุณภาพประจำปีของภาควิชาชีวเคมี เพื่อวางแผนติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงาน เพื่อให้บรรลุ ตามเป้าหมายที่วางไว้

หมวดที่ 1 การนำองค์กร 1.2 วิธีสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ การปรับปรุงผลการทำงาน สร้างความเป็นน้ำหนึ่งอันเดียวกัน ระหว่างอาจารย์, บุคลากร และนักศึกษา ด้วยการสร้างภาควิชาฯ ให้น่าอยู่เหมาะสำหรับการทำงาน,การเรียน, การวิจัยและการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง สร้างให้เกิดการทำงานเป็นทีมมากยิ่งขึ้น พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และศักยภาพเพิ่มขึ้น พัฒนาวิจัยให้มีความชัดเจนและมีจุดเด่นมากยิ่งขึ้น โดยเน้นการสร้างเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

สถาบันดังกล่าวมาเป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ด้วย เช่น ภาคชีวเคมีได้มีการสร้างเครือข่ายงานวิจัยโดยได้มีการส่งนักศึกษาและอาจารย์ไปทำงานวิจัยในสถาบันต่างประเทศ และมีการเชิญอาจารย์จาก สถาบันดังกล่าวมาเป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ด้วย เช่น สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสังคมศาสตร์และมนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Eijkman Institute for Molecular Biology , Indonesia St Vincent's Hospital, Australia Memorial Sloan-Kettering Cancer center (MSKCC), New York Division of Biochemical Toxicology, Institute of Environment Medicine, Karolinska Institutet, Sweden Center of Cancer Research, National Cancer Institute, USA National Institute of Health (NIH), USA RIKEN Center for Genomic Medicine, RIKEN Yokohama Institute, Japan Department of Bioinformatics, Menzies Institute for Medical Research , Australia

หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์และการถ่ายทอดกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์และการถ่ายทอดกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ภาควิชาฯ รับแผนกลยุทธ์ของคณะฯ มาทำแผนกลยุทธ์ของภาควิชาฯ ด้วยการจัดการสัมมนา ระดมความคิด จากอาจารย์และ บุคลากรทุกคนเพื่อทำ SWOT analysis โดยใช้ข้อมูลของภาควิชาฯ ที่ผ่านมา กำหนดและให้คะแนนความสำคัญต่อองค์กรทั้ง strength, weakness, opportunities, threat จัดลำดับความสำคัญ และนำมาสัมมนาเพื่อคัดเลือก ความท้าทาย และความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ จัดทำโครงการต่างๆ พร้อมทั้งมีการติดตามผลการดำเนินการจากที่ประชุมภาควิชาฯ และปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ

SWOT ANALYSIS Strengths มีบุคลากรมีคุณภาพ (MD-PhD 10 คน) อยู่ในโรงเรียนแพทย์จึงมีทรัพยากรในการทำงานวิจัยทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ มีเทคโนโลยีทันสมัย เป็นภาควิชาฯ เล็กๆ ที่มีความคล่องตัว บุคลากรได้รับการอบรมอย่างต่อเนื่อง Weakness อาจารย์หลายท่านกำลังอยู่ในระหว่างศึกษาต่อ คณะไม่มีหลักสูตร วท.บ. ทำให้เป็นอุปสรรคในการคัดเลือกนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีคุณภาพสูง นศ. ต่างชาติในหลักสูตรนานาชาติมีสัดส่วนน้อยกว่า นศ.ไทย นักศึกษาหลักสูตร ป.โท- ป.เอก จบการศึกษาช้ากว่ากำหนด อาจารย์ศึกษาต่อ ต้องใช้เวลาในการสร้างงานวิจัย มีผลต่อการศึกษา Opportunities -คณะฯ มีนโยบายให้ความสำคัญ และสนับสนุนงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง -คณะฯ มีนโยบายสนับสนุนการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาและเน้นสู่ความเป็นหลักสูตรนานาชาติ Threat - มีหลักสูตรชีวเคมีอื่นๆมากขึ้น 19

แผนปฏิบัติการด้านการศึกษา See การนำเสนอสรุปผลการดำเนินการข้อตกลงปฏิบัติงานระหว่างภาควิชากับคณะประจำปี 2554.ppt

แผนปฏิบัติการด้านการศึกษา

หมวดที่ 3 การสร้างความผูกพันกับผู้เรียน การเรียนรู้/รับฟัง และนำผลดังกล่าวมาพัฒนาปรับปรุงวิธีการสร้างความผูกพัน ภาควิชาเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำการประเมินการเรียนการสอน เพื่อปรับปรุงการให้การศึกษาของภาควิชาโดยมุ่งเน้นตามประโยชน์และความต้องการของผู้เรียนเป็นหลัก รวมทั้งมีการใช้สารสนเทศเพื่อปรับปรุงความสำเร็จ

24

สื่อสารสนเทศสำหรับการเรียน การสอน และการค้นคว้าด้วยตนเองที่ภาควิชาฯ จัดไว้

กระดานสนทนาภาควิชาชีวเคมี

กระดานสนทนาภาควิชาชีวเคมี

พัฒนาโปรแกรม CAI เพื่อใช้ในการเรียนการสอน Lab Molecular Biology Techniques สำหรับ นศพ. 28

E-textbook นักศึกษาสามารถอ่านจากคอมพิวเตอร์ หรือ print เป็น hard copy Copy file บทที่1_หลักฟิสิโคเคมี.pdf ไปด้วย นักศึกษาสามารถอ่านจากคอมพิวเตอร์ หรือ print เป็น hard copy E-textbook เป็นลิขสิทธิ์ของภาควิชา ที่อนุญาตให้นักศึกษาใช้ในการเรียนการสอนโดยไม่คิดมูลค่า ดังนั้น กรุณาอย่าแจกจ่ายให้นักศึกษานอกคณะฯ 29

- ปรับปรุงห้องบรรยายให้เหมาะสมตามที่ผู้เรียนเสนอ หมวดที่ 3 การสร้างความผูกพันกับผู้เรียน การเรียนรู้/รับฟัง และนำผลดังกล่าวมาพัฒนาปรับปรุงวิธีการสร้างความผูกพัน ระดับบัณฑิตศึกษา - ปรับปรุงห้องบรรยายให้เหมาะสมตามที่ผู้เรียนเสนอ เพิ่ม LCD TV ขนาด 42 นิ้วจำนวน 2 ตัว - โครงการผลิตวีดิทัศน์เพื่อการเรียนการสอน 32

ภาควิชาฯ ได้มีการจัดงานปัจฉิมนิเทศขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อแสดงความยินดีกับบัณฑิตใหม่ สร้างความรักความผูกพันอย่างต่อเนื่องระหว่างบัณฑิต ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน และสถาบัน 33

หมวด 4 ระบบสารสนเทศและการจัดการความรู้ ภาควิชามีการนำระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อให้ผู้บริหารภาคและบุคลากรของภาควิชาสามารถติดตามข้อมูลด้านการดำเนินงานที่สำคัญ

ระบบสารสนเทศที่ผู้บริหารภาคติดตามข้อมูลด้านการดำเนินงานที่สำคัญ

ระบบสารสนเทศที่ผู้บริหารภาคติดตามข้อมูลด้านการดำเนินงานที่สำคัญ

ระบบสารสนเทศที่ผู้บริหารภาคติดตามข้อมูลด้านการดำเนินงานที่สำคัญ

ระบบสารสนเทศที่ผู้บริหารภาคติดตามข้อมูลด้านการดำเนินงานที่สำคัญ

แผนการจัดสรรบุคลากร เพื่อการพัฒนางานด้านการศึกษา มีการพัฒนาการบันทึกข้อมูลบุคลากรลงในโปรแกรม Microsoft Access เพื่อสะดวกและรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูล

แผนการจัดสรรบุคลากร เพื่อการพัฒนางานด้านการศึกษา

พัฒนาระบบห้องสมุดภาควิชาแบบ on-line

การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการควบคุมครุภัณฑ์ และจัดสรรงบประมาณ เพื่อพัฒนางานด้านการศึกษาของภาควิชาฯ

หมวด 5 การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน ภาควิชาส่งเสริมให้มีการพัฒนาผู้นำ อาจารย์และผู้ปฏิบัติงานด้านการศึกษา รวมทั้งสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดผลการดำเนินการที่ดี และเกิดความผูกพันระหว่างผู้ปฏิบัติงานกับภาควิชา

หมวด 5 การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน การฝึกอบรมดูงานของอาจารย์และเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมให้มีการเรียนภาษาอังกฤษของเจ้าหน้าที่ (>70%) มีเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของอาจารย์แพทย์ใช้ทุนโดยให้เข้าเรียนในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน สาขาวิชาชีวเคมี จัดให้มีการสัมมนาทางวิชาการ (research seminar) โดยผู้ปฏิบัติงานปีละ 2 ครั้ง

หมวด 5 การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน การสัมมนาประจำปีของภาควิชา งานรื่นเริงประจำปี เช่น งานปีใหม่ 45

หมวด 5 การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน งานส่งเสริมสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน

ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ ตัวชี้วัดสำคัญ เป้าหมาย การเทียบเคียง ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ (ย้อนหลัง 3 ปี) 2551 2552 2553 ด้านการศึกษา ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนการสอนอยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมากเกิน 80% เป็นการเทียบเคียงภายใน (Internal Benchmarking) 90% นักศึกษาสอบผ่านตามเกณฑ์ของภาควิชา >99% 100% นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา นำเสนอผลงานวิจัยอย่างน้อย 1 โครงการต่อคน เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติในระดับบัณฑิตศึกษา (20%) 33% 42% 23% นศ. ป.โท ชีวเคมี (นานาชาติ) จบการศึกษาภายใน 3 ปี 70% 25% นศ. ป.เอก ชีวเคมี (นานาชาติ) จบการศึกษาภายใน 4/6 ปี 68% 33.3

48

จำนวนงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์อย่างน้อย 0.5 เรื่อง/คน/ปี จำนวนอาจารย์ที่ active ปี 07, 08, 09, 10 = 9, 9, 10 (tom), 11 (Jo, Ped) ปี 11 จะมี 10, ปี 12 มี 12 จำนวน 0.67 1.22 1.30 1.27 (เรื่อง/คน/ปี)

จำนวนงานวิจัยเปรียบเทียบกับสถาบันอื่น ดู biochemistry research at other institutions.doc Benchmarking ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (12 คน) ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (15 คน) 50

ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้บังคับบัญชา/ นายจ้าง ต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิตที่จบการศึกษา บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล มีระบบการติดตามประเมินผล และการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตโดยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล สร้างกลไกเพื่อให้ศิษย์ปัจจุบัน บัณฑิต/ผู้สำเร็จการศึกษา/ ศิษย์เก่า มีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาบันเพื่อสร้างความรักความผูกพันอย่างต่อเนื่อง

ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้บังคับบัญชา/ นายจ้าง ต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิตที่จบการศึกษา บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้บังคับบัญชา/ นายจ้าง ต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิตที่จบการศึกษา บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ปริญญาโท จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม คะแนน (เต็ม 5) ค่าเฉลี่ยรวมทุกหลักสูตร ปีการศึกษา 2549 2 4.42 4.18 ปีการศึกษา 2552 1 4.46 4.45 ปริญญาเอก - 4.65 4.69 ปีการศึกษา 2549 ระยะเวลาสำรวจ พค 50 – กย 50 ปีการศึกษา 2552 ระยะเวลาสำรวจ กย 53 – เมย 54

รางวัล /ความภาคภูมิใจ ผศ. ดร. นพ. ชัชวาลย์ ศรีสวัสดิ์ - รางวัลงานวิจัยดีเด่นระดับปรีคลินิกของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ประจำปี 2553 - เรื่อง Srisawat C, Engelke DR. Selection of RNA aptamers that bind HIV-1 LTR DNA duplexes: strand invaders. Nucleic Acids Res 2010; 38(22):8306-15. 54

รางวัล /ความภาคภูมิใจ ศ. พญ. นีโลบล เนื่องตัน - รางวัลงานวิจัยชมเชยระดับปรีคลินิกของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ประจำปี 2553 - เรื่อง Moongkarndi P, Srisawat C, Saetun P, Jantaravinid J, Peerapittayamongkol C, Soi-Ampornkul R, Junnu S, Sinchaikul S, Chen ST, Charoensilp P, Thongboonkerd V, Neungton N. Protective effect of mangosteen extract against beta-amyloid-induced cytotoxicity, oxidative stress and altered proteome in SK-N-SH Cells. J Proteome Res 2010;9:2076-86. 55

รางวัล /ความภาคภูมิใจ นายชยภัทร รัชตวิภาสนันท์ (นศ.ปริญญาโท) ผศ. ดร. พญ. วรพรรณ ศิริวัฒนอักษร (อาจารย์ที่ปรึกษา) 56

โอกาสพัฒนา จากผลการประเมินในปีที่ผ่านมา มีการจัดกิจกรรม โครงการ หรือการดำเนินการเพื่อตอบสนองต่อข้อเสนอแนะอย่างไร จัดให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอความก้าวหน้าของงานวิจัย หรือ research paper ในสาขาที่กำลังวิจัยอยู่ 57

โอกาสพัฒนา จากผลการประเมินในปีที่ผ่านมา มีการจัดกิจกรรม โครงการ หรือการดำเนินการเพื่อตอบสนองต่อข้อเสนอแนะอย่างไร ได้มีการทบทวนเนื้อหาร่วมกับภาควิชาทั้งระดับ pre-clinic และ clinic ในบางหัวข้อ เช่น ในรายวิชา APK (ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานระดับคณะฯ) 58

โอกาสพัฒนา จากผลการประเมินในปีที่ผ่านมา มีการจัดกิจกรรม โครงการ หรือการดำเนินการเพื่อตอบสนองต่อข้อเสนอแนะอย่างไร ทางภาควิชาเน้นการทำวิจัยร่วมกับภาควิชาระดับ pre-clinic และ clinic ภาควิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชาตจวิทยา ภาควิชาจักษุวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ ภาควิชาสูติศาสตร์ นรีเวชวิทยา 59