ชื่อส่วนงาน..... วันที่นำเสนอ......
ชื่อส่วนงาน............... ประวัติความเป็นมา วิสัยทัศน์และพันธกิจ (Vision and Mission) กิจกรรมการดำเนินงานในปัจจุบันและแผนงานในอนาคต ข้อมูลทางสถิติ: นักศึกษาและคณาจารย์ ผลการดำเนินงานทางการเงิน ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน ความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อเป้าหมายส่วนงาน
ประวัติความเป็นมา จุดเริ่มต้น : ปัจจุบัน วิสัยทัศน์ : พัฒนาคุณภาพทางวิชาการดนตรีของชาติ เป็นแหล่งข้อมูลทางวิชาการดนตรีที่สำคัญในซีกโลกตะวันออก มีบทบาทในการพัฒนาวิชาชีพการดนตรีในสังคมไทย และ ASEAN ให้ได้มาตรฐานสากลอย่างเป็นระบบ พันธกิจ : ผลิตและพัฒนาบุคลกรที่มีความรู้และความสามารถทางดนตรี ศึกษาและวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางทางวิชาการด้านดนตรี พัฒนางานทางวิชาการและกิจกรรมดนตรีในระดับอุดมศึกษาให้เป็นที่ยอมรับในคุณภาพและมาตรฐานในอารยะประเทศ สามารถดำเนินงานได้คล่องตัว มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับวิวัฒนาการของกิจการอุดมศึกษาในประเทศและ SEA บำรุงและเผยแพร่วัฒนธรรมไทย ถ่ายเททางวัฒนธรรมอย่างเท่าเทียมกัน ปรัชญา : วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มีหน้าที่ จะต้องยกฐานะวิชาดนตรีจากวิชาข้างถนน (เต้นกินรำก้น) เป็นวิชาของนักปราชญ์ที่ทุกคนจะต้องเรียน สร้างวิชาดนตรีให้เป็นวิชาชีพที่มีเกียรติ เป็นที่ยอมรับในคุณภาพและมาตรฐานในอารยะประเทศ เป้าหมาย : วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มุ่งมั่นที่จะ สร้างคนดนตรี ให้เป็นทั้งคนดีและคนเก๋ง เพราะเชื่อว่า พรสวรรค์สามารถสร้างได้ ปัจจุบัน
โครงสร้างส่วนงาน สภามหาวิทยาลัย หัวหน้า (งานตรวจสอบภายใน) อกม. ม. มหิดล อธิการบดี ที่ประชุมคณะบดี หัวหน้า (งานตรวจสอบภายใน) รองอธิการบดี 1. ฝ่ายนโยบายแผนงานและงบประมาณ 2. ฝ่ายบริหารและพัฒนาระบบบริหาร 3. ฝ่ายพัฒนาการวิชาชีพ 4. ฝ่ายสร้างเครือข่ายในและต่างประเทศ 5. ฝ่ายวิทยาเขต 6. ฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี 7. ฝ่ายกิจกรรมนักศึกษา 8. ฝ่ายกีฬาและกิจกรรมพิเศษ 9. ฝ่ายการคลัง การเงิน และพัสดุ 10. ฝ่ายวิจัย 11. ฝ่ายพัฒนาสิ่งเอื้ออำนวยทางวิชาการ ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายสร้างเครือข่ายในและต่างประเทศ ฝ่ายพัฒนาการวิชาชีพ คณบดี ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ อื่นๆ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน คณะวิทยาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย คณะแพทศาสตร์ ร.พ. รามาธิบดี คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ โครงการจัดตั้งคณะกายภาพบำบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม สถาบันวิจัยและโภชนา สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ สถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ วิทยาลัยราชสุดา วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ วิทยาลัยการจัดการ วิทยาลัยศาสนศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านกิจการนักศึกษา หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี ผู้อำนวยการกอง ผู้อำนวยการสำนัก สำนักหอสมุด สำนักคอมพิวเตอร์ สำนักสัตว์ทดลอง ศูนย์ศาลายา ศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬา ศูนย์ประยุกต์และบริการ
วิสัยทัศน์และพันธกิจ (Vision and Mission) ปรัชญา วิสัยทัศน์ : พัฒนาคุณภาพทางวิชาการดนตรีของชาติ เป็นแหล่งข้อมูลทางวิชาการดนตรีที่สำคัญในซีกโลกตะวันออก มีบทบาทในการพัฒนาวิชาชีพการดนตรีในสังคมไทย และ ASEAN ให้ได้มาตรฐานสากลอย่างเป็นระบบ พันธกิจ : ผลิตและพัฒนาบุคลกรที่มีความรู้และความสามารถทางดนตรี ศึกษาและวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางทางวิชาการด้านดนตรี พัฒนางานทางวิชาการและกิจกรรมดนตรีในระดับอุดมศึกษาให้เป็นที่ยอมรับในคุณภาพและมาตรฐานในอารยะประเทศ สามารถดำเนินงานได้คล่องตัว มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับวิวัฒนาการของกิจการอุดมศึกษาในประเทศและ SEA บำรุงและเผยแพร่วัฒนธรรมไทย ถ่ายเททางวัฒนธรรมอย่างเท่าเทียมกัน ปรัชญา : วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มีหน้าที่ จะต้องยกฐานะวิชาดนตรีจากวิชาข้างถนน (เต้นกินรำก้น) เป็นวิชาของนักปราชญ์ที่ทุกคนจะต้องเรียน สร้างวิชาดนตรีให้เป็นวิชาชีพที่มีเกียรติ เป็นที่ยอมรับในคุณภาพและมาตรฐานในอารยะประเทศ เป้าหมาย : วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มุ่งมั่นที่จะ สร้างคนดนตรี ให้เป็นทั้งคนดีและคนเก๋ง เพราะเชื่อว่า พรสวรรค์สามารถสร้างได้ เป้าหมาย
กิจกรรมการดำเนินงาน+ผลงานที่สร้างชื่อเสียง เช่น ผลงานที่ได้รับรางวัล……………………… ปี 25..... ปี 25..... …………………………………………………… ปี 25..... ……………………………………………………………….…………… …………………………………………………………………… ปี 25..... …………………………………………………………….……………… …………………………………………………………………… ปี 25..... ……………………………………………………………………….…… ……………………………………………………………..…….
แผนในอนาคต ปีงบประมาณ 2555 ….…………………………………………………….………………………………….……… ..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………….………………………………….………….………..….………… …………………………………………………………………………………………………..…………… ปีงบประมาณ 2556-2558 …..………………………………………………………………………….………………………………….……… …….…………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………..……………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………… …………………………………….……………………………………………………………………..
ข้อมูลสถิติ ตัวอย่าง : อัตราส่วนนักศึกษาที่สมัครสอบต่อนักศึกษาที่ผ่านการสอบคัดเลือก จำนวนนักศึกษาที่สมัครเพื่อสอบคัดเลือก จำนวนนักศึกษาที่ผ่านการสอบคัดเลือก อัตราส่วนนักศึกษาที่สมัครสอบต่อนักศึกษาที่สอบผ่าน ในปี 2549 อัตราส่วนนักศึกษาที่สอบได้เมื่อเทียบกับนักศึกษาที่สมัครสอบ ลดลง นักศึกษาที่สมัครเพื่อสอบคัดเลือกมากขึ้นกว่า 120% ในระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา แม้ว่า คณะฯ สามารถรับนักศึกษาได้เพิ่มขึ้นกว่า 55% ในระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา
ข้อมูลสถิติ ตัวอย่าง : จำนวนนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในปัจจุบัน ในปี 2549 มีจำนวนนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ทั้งสิ้น 551 คน ปี 2549 ปริญญาโท ปริญญาเอก ประกาศนียบัตร ปริญญาตรี 24% 39% 12% จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา จำนวนนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ หมายเหตุ โครงการปริญญาเอกเริ่มเปิดสอนในปี 2548 นักศึกษาประกาศนียบัตร มีจำนวนมากที่สุดคือ 36% รองลงมาคือปริญญาโท 31% สัดส่วนของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาและนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ของระดับปริญญาโทเพียง 12% เนื่องจากนักศึกษามีปัญหาเรื่องการทำวิทยานิพนธ์เป็นภาษาอังกฤษ (วิเคราะห์สาเหตุ)
ข้อมูลสถิติ ตัวอย่าง : จำนวนอาจารย์ในปัจจุบัน ข้อมูลสถิติ ตัวอย่าง : ในปี 2549 มีจำนวนอาจารย์ทั้งสิ้น 232 คน อาจารย์ประจำ : จำแนกตามสัญชาติ เอเชีย อาจารย์ประจำ ยุโรป อาจารย์พิเศษ ไทย อเมริกัน เพิ่มขึ้น 27% ต่อปี สัดส่วนของอาจารย์ประจำน้อยกว่าอาจารย์พิเศษเกือบเท่าตัว ในระยะเวลา 4 ปี ที่ผ่านมา การเพิ่มขึ้นของอาจารย์ประจำ ต่ำกว่า อาจารย์พิเศษ เพิ่มขึ้น 9% ต่อปี จำนวนอาจารย์ประจำ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด จำนวนอาจารย์พิเศษ
ข้อมูลสถิติ ตัวอย่าง : อัตราส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์ในปี 2545 – 2549 ตัวอย่าง : อัตราส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์ในปี 2545 – 2549 อัตราส่วนอาจารย์ประจำต่อนักศึกษา อัตราส่วนอาจารย์ทั้งหมดต่อนักศึกษา จำนวนนักศึกษา จำนวนอาจารย์ อัตราส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์ประจำเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอาจารย์ประจำอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ในปี 2545 : นักศึกษา 4.4 คน ต่ออาจารย์ 1 คน ในปี 2549 : นักศึกษา 6.5 คน ต่ออาจารย์ 1 คน อัตราส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์ทั้งหมด : นักศึกษา 2.4 คน ต่ออาจารย์ 1 คน การเพิ่มขึ้นของอาจารย์พิเศษ
อัตราการสำเร็จการศึกษาภายในวงรอบหลักสูตร ปริญญาตรี : พ.บ. ๖ ปี พย.บ. และ วท.บ. ๔ ปี บัณฑิตศึกษา : ปริญญาโท ๕ ปี ปริญญาเอก ๘ ปี ร้อยละ Target ๒๕๕๒ พบ. =>๙๕% พยบ. =๘๕% วทบ .=๗๐% ปีการศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต(วท.บ.) สาขาความผิดปกติการสื่อความหมาย ซึ่งเป็นหลักสูตรเดียวในประเทศ มีบัณฑิตรุ่นแรกจบในปีการศึกษา ๒๕๕๐ มีอัตราการจบเป็นบัณฑิตภายในวงรอบหลักสูตรร้อยละ ๔๐ และผลลัพธ์การสำเร็จบัณฑิตรุ่นที่ ๒ ในปีการศึกษา ๒๕๕๑ สูงขึ้นเป็นร้อยละ ๗๖.๖๗ นักศึกษาปริญญาโท อัตราการสำเร็จการศึกษามีแนวโน้มสูงขึ้นจากร้อยละ ๕๑.๘๕ ในปีการศึกษา ๒๕๔๙ เป็นร้อยละ ๘๒.๕๗ ในปีการศึกษา ๒๕๕๑ นักศึกษาปริญญาเอก อัตราการสำเร็จการศึกษามีแนวโน้มสูงขึ้นจากร้อยละ ๖๖.๖๗ ในปีการศึกษา ๒๕๕๐ เป็นร้อยละ ๘๐ ในปีการศึกษา ๒๕๕๑
ตัวอย่าง : ค่าธรรมเนียมการศึกษา ข้อมูลสถิติ ตัวอย่าง : ค่าธรรมเนียมการศึกษา จำนวนนักศึกษาที่กำลังศึกษาปี 2549: 551 คน ค่าธรรมเนียมการศึกษา - ปัจจุบัน ปริญญาเอก หน่วย : บาทต่อภาคเรียนต่อคน ปริญญาโท ประกาศนียบัตร ปริญญาตรี ค่าธรรมเนียมไม่เคยปรับตั้งแต่ปี 2541 ค่าธรรมเนียมของระดับปริญญาโทอยู่ในอัตราต่ำเนื่องจากเป็นการโอนมาจากบัณฑิตวิทยาลัย ค่าธรรมเนียมการศึกษา (หน่วย: บาทต่อภาคเรียนต่อคน) เตรียมอุดมดนตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ปัจจุบัน 28,500 39,500 15,850 47,050 นำเสนอ 41,500 50,000 32,500 47,050 เพิ่มขึ้น (%) 46% 27% 105% 0% พิจารณาปรับค่าธรรมเนียมการศึกษา
ด้านการวิจัย จำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ (ฐานข้อมูล SCOPUS วันที่ 10 มิถุนายน 2553) จำนวน(เรื่อง)
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ ฐานข้อมูล SCOPUS ปี 2005-2009 จำนวน (เรื่อง) **ข้อมูลจากฐานข้อมูล SCOPUS (ข้อมูลตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2553)
จำนวนผู้ป่วยใน - ผู้ป่วยนอกในปี ๒๕๔๘ - ๒๕๕๒ ด้านบริการรักษาพยาบาล จำนวนผู้ป่วยใน - ผู้ป่วยนอกในปี ๒๕๔๘ - ๒๕๕๒ จำนวน(ราย) +๖.๑๙% -๑.๐๕% +๔.๗๒% +๓.๔๑% +๓.๙๑% +๔.๒๘% +๒.๓๕% -๖.๙๖% จำนวนผู้ป่วยนอกมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี ๒๕๕๒ มีจำนวนลดลง เนื่องจากวิกฤตทางการเมือง ในช่วงเดือนเมษายน ๒๕๕๓ และช่วงวันที่ ๑๗ – ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ จำนวนผู้ป่วยในมีจำนวนใกล้เคียงกันในทุกปี ในปี ๒๕๕๒ มีจำนวนลดลงเนื่องจากมีการปิดหอผู้ป่วยบางแห่ง เพื่อปรับปรุง และในช่วงวิกฤตทางการเมืองมีการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับผู้ป่วยฉุกเฉิน
การวิเคราะห์งบการเงิน แสดงข้อมูลฐานะการเงิน 3 ปี ย้อนหลัง ( 2550 – 2552 ) งบดุล 2552 2551 2550 สินทรัพย์ เงินสดและเงินฝาก ลูกหนี้ เครื่องใช้สำนักงาน(หลังหักค่าเสื่อมราคา) รวมสินทรัพย์ XXX XXX XXX หนี้สินและทุน เจ้าหนี้ - เงินยืม - การค้า ทุนสะสม รายได้สูง(ต่ำ)กว่ารายจ่ายสุทธิ รวมหนี้สินและทุน XXX XXX XXX
การวิเคราะห์งบการเงิน แสดงข้อมูลฐานะการเงิน 3 ปี ย้อนหลัง ( 2550 – 2552 ) งบรายได้และค่าใช้จ่าย 2552 2551 2550 รายได้ จากการจัดการเรียนการสอน จากการรักษาพยาบาล จากการบริการวิชาการ อื่นๆ รวมรายได้ XX XX XX ค่าใช้จ่าย (ต้นทุน) ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการรักษาพยาบาล ด้านการบริการวิชาการ รวมค่าใช้จ่าย XX XX XX รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน XXX XXX XXX
รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ XXX XXX XXX ( ต่อ ) การวิเคราะห์งบการเงิน แสดงข้อมูลฐานะการเงิน 3 ปี ย้อนหลัง ( 2550 – 2552 ) งบรายได้และค่าใช้จ่าย 2552 2551 2550 รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน XXX XXX XXX รายได้เงินอุดหนุน จากรัฐบาล(งบประมาณ) จากมหาวิทยาลัย จากภาคเอกชน รวมรายได้เงินอุดหนุน XX XX XX ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน จ่ายให้มหาวิทยาลัย จ่ายเพื่อกิจกรรมทางสังคม รวมรายจ่ายเงินอุดหนุน XX XX XX รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายหลังการอุดหนุน XXX XXX XXX ค่าเสื่อมราคา รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ XXX XXX XXX
แผนภาพเปรียบเทียบรายได้และค่าใช้จ่าย ตัวอย่าง แผนภาพเปรียบเทียบรายได้และค่าใช้จ่าย ตลอดระยะเวลา 5 ปีคณะฯ มีรายได้ เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ปี 2552 เปรียบเทียบกับปี 2551 - รายได้เพิ่มขึ้น 30.70% - ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 22.85% รายได้ที่เพิ่มมีสัดส่วนสูงกว่าค่าใช้จ่ายที่เพิ่ม (หน่วย:ล้านบาท)
ตัวอย่าง เปรียบเทียบรายได้และค่าใช้จ่ายแยกตามประเภท การให้บริการ ปีงบประมาณ 2552 ปีงบประมาณ2552 ส่วนงานมีกำไรจากการให้บริการการรักษาพยาบาลมากที่สุด (หน่วย:ล้านบาท)
แนวทางการวิเคราะห์ทางการเงิน ในการดำเนินงานแต่ละภารกิจสามารถเลี้ยงตัวเองได้หรือไม่ จำนวนเงินที่ได้รับอุดหนุนในแต่ละภารกิจจำนวนเท่าใด แนวทางการดำเนินงานหากในอนาคตไม่ได้รับเงินอุดหนุน ตัวอย่าง รายได้จากการรักษาพยาบาล(เก็บจากผู้ป่วย) XX ค่าใช้จ่าย ค่าตอบแทนแพทย์ พยาบาล เภสัชกร XX ค่าวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ XX ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานอื่น XX XX กำไร(ขาดทุน)จากการดำเนินงาน XXX ได้เงินอุดหนุนจากงบประมาณ(เพื่อการรักษาผู้ป่วย) XX จ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสังคมและชุมชน(รักษาฟรี) (XX) กำไร(ขาดทุน)สุทธิจากการรักษาพยาบาล XXXX
วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินตาม Template ใน website ของศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง อัตราส่วนทางการเงิน หน่วย 2552 2551 2550 1. อัตราส่วนแสดงสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) 1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) เท่า 2. อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำเนินงาน (Efficiency Ratio) 2.1 อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account Receivable Turnover Ratio) รอบ 2.2 ระยะเวลาการเก็บหนี้ (Collection Period) วัน 2.3 อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์รวม (Return On Asset) % 3. อัตราส่วนแสดงภาระหนี้สิน (Leverage Ratio) 3.1 อัตราส่วนวัดความสามารถในการชำระดอกเบี้ย (Interest Coverage) 3.2 อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์รวม (Debt To Total Assets) 4. อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratio) 4.1 อัตราส่วนกำไรจากการดำเนินงาน (Operation Profit Margin) 4.2 อัตราผลตอบแทนจากกำไรสุทธิ (Net Profit Margin)
การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ตัวอย่าง การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ผลการดำเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี (ไม่ดี) : เนื่องจาก รายได้จากค่าธรรมเนียมการศึกษาเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10 ทุกปี เป็นสัดส่วนกับจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอทุกๆ ปี รายได้จากการบริการการศึกษาเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 6.5 ทุกปี สภาพคล่องของคณะฯ อยู่ในเกณฑ์ดี จากอัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ และระยะเวลาการเรียกเก็บหนี้เร็ว อัตราผลตอบแทนจากกำไรสุทธิเท่ากับร้อยละ 6.32 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ............................................................................................................................................................................
ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน ** อาจเป็นตัวชี้วัด(KPI) ที่ผู้บริหารส่วนงานทำไว้กับอธิการบดี ด้านการวิจัย - จำนวนข้อตกลง - จำนวนข้อตกลงที่ทำได้ตามเป้าหมาย - จำนวนข้อตกลงที่ทำได้ดีกว่าเป้าหมาย - จำนวนข้อตกลงที่ทำได้ต่ำกว่าเป้าหมาย ด้านการศึกษา ด้านการบริการวิชาการ ด้านการบริหารการเงิน การคลัง งบประมาณและสินทรัพย์ ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การกีฬา และสร้างเสริมสุขภาพ ด้านระบบกายภาพและสิ่งแวดล้อม ด้านอื่นๆที่สนับสนุนพันธกิจต่างๆ
วิเคราะห์ปัจจัยความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อเป้าหมายส่วนส่วนงาน ตัวอย่าง : ขาดสภาพคล่องทางการเงิน ปัจจัยที่ 1 แผนการลงทุนไม่ชัดเจน ปัจจัยที่ 2
วิเคราะห์ความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อเป้าหมายส่วนงาน ตัวอย่าง : 1. ขาดสภาพคล่องทางการเงิน ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง แนวทางแก้ไข ปัญหาสภาพคล่องเป็นระยะ - รายได้ที่ได้รับจากนักศึกษาและรัฐบาลไม่เพียงพอกับภาระรายจ่าย - ต้องได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอกทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ ปรับเพิ่มค่าธรรมเนียมการศึกษาจากนักศึกษาเข้าใหม่ในปี 2551ในทุกระดับชั้น ขอเพิ่มงบประมาณจากรัฐบาล เงินช่วยเหลือจากภาคเอกชนหรือหน่วยงานภาครัฐอื่น ยืมเงินจากมหาวิทยาลัย 2. แผนการลงทุนและแหล่งเงินทุน ความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง แนวทางแก้ไข ไม่ความชัดเจนของแผนการลงทุน เช่น อาคาร สถานที่ อุปกรณ์ จัดทำแผนการลงทุนระยะเวลา 5 ปี จัดหาแหล่งเงินทุนตามแผนการลงทุน