การปฏิวัติอุตสาหกรรม Industrial Revolution Mr. Natthapart
ความหมาย การปฏิวัติอุตสาหกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงวิถีการ ดำเนินงานอุตสาหกรรมจากการทำด้วยมือ เป็นเครื่องจักร ระบบ ครัวเรือนสู่ระบบโรงงาน วิถีการผลิตขนาดเล็กเป็นการผลิตขนาด ใหญ่ จากเป้าหมายผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือนเป็นการผลิตเพื่อ ขายในและต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรมและทรัพยากร
มูลเหตุการปฏิวัติอุตสาหกรรม แรงงาน การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การอพพยแรงงานจากเมืองสู่ชนบท อพยพระหว่างประเทศ การเพิ่มขึ้นของระดับการศึกษา การประดิษฐ์(invention) ความปรารถนาที่จะมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น การสะสมทุนเพิ่มขึ้น การขยายตัวของอุปสงค์ตลาด(expansion of market demand) การคมนาคมขนส่ง การพัฒนาพลังงานและวัตถุดิบอย่างเพียงพอต่ออุตสาหกรรม
สภาพระหว่างการปฏิวัติอุตสาหกรรม มีการเปลี่ยนแปลงระบบการทำงานจากทำด้วยมือ เป็นเครื่องจักร สภาพการทำงานของแรงงานมีความเสี่ยงต่อความปลอดภัยในชีวิต การเคลื่อนย้ายของแรงงานจากชนบทสู่เมือง มีการขยายโรงงานอุตสาหกรรม มีการลงทุนจำนวนมาก นายทุนมีบทบาทสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ
ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ อาทิ อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเครื่องจักร ความมั่งคั่งของประเทศอังกฤษเพิ่มมากขึ้น จนเป็นประเทศอุตสาหกรรมชาติแรก การผลิตระดับครัวเรือนหมดไป ชนชั้นขุนนางหมดอำนาจ เปลี่ยนเป็นกลุ่มนายทุน พ่อค้าแทน
การพัฒนาอุตสาหกรรมและการคมนาคมขนส่ง อุตสาหกรรมทอผ้า อุตสาหกรรมทอผ้าฝ้าย(cotton textile industry) อุตสาหกรรมผ้าขนสัตว์(woollen industry) การใช้เครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมท่อผ้า กระสวยทอผ้า เครื่องปั้นฝ้าย เครื่องปั้นฝ้ายพลังงานน้ำ เครื่องทอผ้าผลังงานน้ำ อุตสาหกรรมถ่านหิน เหมืองถ่านหิน 2 ระบบคือหน้าดิน และใต้ดิน การพัฒนาตะเกียงนิรภัย(safety lamp) การใช้เครื่องจักรไอน้ำในการลำเลียง ถ่านหิน อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า(iron and steel industry) วิธีการในการถลุงเหล็ก กระบวนการเยสซเมอร์ และการแยกฟอสฟอรัสออกจากเหล็ก
การคมมนาคมขนส่ง การคมมนาคมขนส่งทางถนน การคมมนาคมขนส่งทางน้ำ ให้เอกชนเป็นผู้ดำเนินการ 1864 ออกพระราชบัญญัติระบบถนนและการเก็บค่าธรรมเนียมถนน การคมมนาคมขนส่งทางน้ำ การขนส่งที่ไม่มีประสิทธิภาพ ถูกเอกชนที่ให้บริการขนส่งทางน้ำยึดกิจการ 1947 ออกพระราชบัญญัติเวนคืนรถไฟและคลอง การคมมนาคมขนส่งทางรถไฟ เกิดขึ้นในสตวรรษที่ 16 และมีการพัฒนาเป็นเครื่องจักรไอน้ำ ได้รับความนิยมสูง มีการลงทุนมาก แต่ในช่วงปลายเศรษฐกิจตกต่ำทำให้การรถไฟตกต่ำ 1921 รวมกิจการรถไฟเหลือเพียง 4 บริษัท