ประสบการณ์จากงานบริการสารสนเทศ: ประโยชน์ และปัญหาที่พบในการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูล Journal Link วันศุกร์ที่ 24 สิงหาคม 2550 เวลา 14.00-15.00 น. ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผู้ใช้งานทั่วไป ข้อดี ผู้ใช้งานทั่วไป 1. มีการลงทะเบียนก่อนการใช้งาน เพื่อเก็บสถิติผู้ใช้ แบบง่ายคือ ที่พัก(จังหวัด) อาชีพ สังกัด
2. สามารถค้นหาได้ง่าย ตามเงื่อนไข คือ บางส่วนของชื่อ ส่วนต้นของชื่อ ทั้งหมดของชื่อ
3.สามารถสั่งสำเนาสิ่งพิมพ์ประเภทอื่นได้ด้วย ไม่ใช่แต่เฉพาะบทความวารสาร แต่ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขลิขสิทธิ์ โดยใช้บัตร PIN
4. เลือกแสดงจำนวนวารสาร/หน้าได้
5. สั่งสำเนาโดยใช้บัตร PIN ซึ่งสะดวก ผู้ใช้บริการสามารถติดต่อได้ด้วยตนเอง
6. การสั่งซื้อบัตร PIN การต่ออายุบัตร PIN ทำได้สะดวก
8. กรณีไม่มีบัตร PIN ตรวจสอบห้องสมุดที่ให้บริการบัตร PIN ที่ใกล้ที่สุด และขอใช้บริการได้
10. ขั้นตอนการใช้ง่าย ไม่ยุ่งยาก ไม่ซับซ้อน เมื่อเทียบกับ ILL Request ของ UC
ในส่วนของระบบบริการทรัพยากรสารสนเทศ (ส่วนห้องสมุด) ในส่วนของระบบบริการทรัพยากรสารสนเทศ (ส่วนห้องสมุด) Staff Mode
1. สามารถแก้ไขระบบข้อมูลส่วนตัวสมาชิกได้ด้วยตนเอง ตลอดเวลา รวมทั้งแก้ไข Password ได้เอง
2. มีระบบแจ้งเตือนเมื่อมีใบสั่งใหม่ (Alert) ผ่านทางอีเมลที่แจ้งไว้ในระบบ (สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้เองตลอดเวลา) ทำให้ปฏิบัติงานได้ง่าย สะดวก
3. การพิมพ์ผลใบสั่งใหม่ ทำได้ง่าย 4. กระบวนการ (Process) เป็นไปโดยอัตโนมัติจาก ใบสั่งใหม่ สั่งพิมพ์ แจ้งกำลังดำเนินการ แจ้งจัดส่งแล้วหรือยกเลิกพร้อมแจ้งเหตุผล แค่คลิกก็ดำเนินการต่อให้ พร้อมระบบจะแจ้งไปถึงผู้สั่งให้ทราบขั้นตอนการดำเนินการ
5. ใบสั่งระหว่างดำเนินการ (ปิดใบสั่ง) ทำได้ง่าย ถ้าดำเนินการช้าจะมีอีเมลแจ้งเตือนใบสั่งค้าง 6. สามารถตรวจสอบปัญหาผู้สั่งสำเนาได้
7. สืบค้นและแก้ไขใบสั่ง โดยการค้นหาได้ 8. แก้ไขอัตราค่าบริการสั่งสำเนาในห้องสมุด สั่งสำเนาต่างประเทศได้ด้วยตนเอง
9. มีกระบวนการในเรื่องบัตร PIN โดยเฉพาะ 10. มีระบบสมาชิกที่ดี (สมาชิกผู้ให้บริการสั่งสำเนา) เชื่อมต่อกับระบบการชำระเงิน
11. มีระบบการเงินที่ TIAC เป็น. ผู้จัดการให้ ผู้ให้บริการดำเนินการ
12. มีระบบการแจ้งเตือนให้ตรวจสอบ. การเงินทุกต้นเดือนถัดไป โดยให้ 12. มีระบบการแจ้งเตือนให้ตรวจสอบ การเงินทุกต้นเดือนถัดไป โดยให้ ตรวจสอบความถูกต้องและแจ้ง กลับ ภายในประมาณวันที่ 10 ของ เดือน ทำให้เกิดสภาพคล่องทาง การเงิน
13. สามารถบันทึก/ปรับปรุงข้อมูล ห้องสมุดในเรื่องการเงินได้เอง 14. นับได้ว่าฐานข้อมูลนี้ให้อิสระกับ ห้องสมุดผู้ให้บริการมากในการ ดำเนินการภายในระบบ
ข้อเสีย 1. การ update ข้อมูลของวารสารที่ บอกรับใหม่ เลิกบอกรับ การแก้ไข เพิ่มเติม holding ไม่สะดวก ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานซ้ำซ้อนทั้ง ๆ ที่ ไม่มีเวลา และมีภาระงานมาก ข้อมูลจึง ไม่ทันสมัย
2. รายการ holding ดู/ตรวจสอบยาก 3. ข้อมูลไม่ update เนื่องจากเหตุผลตามข้อ 1 ซึ่งมีผลกระทบต่องานบริการสารสนเทศ และบริการระหว่างห้องสมุด
4. บางห้องสมุดไม่มี Link ไป local Library 5. ราคาค่าสั่งสำเนาไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เงื่อนไขแตกต่างกัน เช่น บางแห่งคิดค่าจัดส่ง บางแห่งไม่คิด ต้องตรวจสอบและมีประสบการณ์ในการใช้บริการ
6. มีค่าธรรมเนียมระบบ 7. บางแห่งกำหนดจำนวนหน้าที่ให้บริการน้อยเกินไป ไม่รองรับการสั่งสำเนางานวิจัย วิทยานิพนธ์ ทำให้สั่งสำเนาผ่านบัตร PIN ไม่ได้
8. ควรจัดเรียงชื่อห้องสมุดที่ให้บริการบัตร PIN ตามลำดับอักษร (ห้องสมุดร่วมบริการ)
9. ควรมีการอบรมการใช้ Journal Link เป็นระยะ ๆ เพื่อเพิ่มลูกค้า อาจอบรมบรรณารักษ์เพื่อไปสอนผู้ใช้ต่อ ประชาสัมพันธ์การใช้ฐานข้อมูล การรับสมัครสมาชิก การป้อนข้อมูล Holding บริการสั่งสำเนา จำหน่ายบัตร PIN และทำ CRM (Customer Relationship Management)
10. บางครั้งระบบไม่แจ้งเตือน. ใบสั่งใหม่ทางอีเมล ต้องคอย 10. บางครั้งระบบไม่แจ้งเตือน ใบสั่งใหม่ทางอีเมล ต้องคอย ตรวจสอบในระบบเอง 11. ไม่สามารถโอนเงินค่าบริการเข้า บัญชีส่วนบุคคลได้
12. กรณีการส่งสำเนาทาง EMS ไม่. สามารถใช้หลักฐานของบริษัท
ถาม - ตอบ
สวัสดีค่ะ