หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สมาคมรัฐศาสตร์แห่งประเทศไทย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
5.
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Arts in Pali and Sanskrit Chulalongkorn University วัตถุประสงค์
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สำนักงานภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“ทฤษฎีและปฎิบัติ สร้างสรรค์และวิจัย การละครร่วมสมัย”
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
( Organization Behaviors )
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
กรอบแนวความคิดที่ 1 (First Paradigm)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การแถลงผลการประชุม เรื่อง
1 คณะอนุกรรมการดำเนินการสอนที่ มุ่งเน้นความรู้คู่คุณธรรม และ สอดแทรกจริยธรรม เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สกอ. ผู้แทนสถาบันในเครือข่ายที่แม่
Company LOGO หลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ที่เปิดรับสมัคร ปี การศึกษา 2551 คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชารังสีวิทยาช่องปากและใบหน้า.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
การหาหัวข้อวิจัยจากทฤษฎีและ งานวิจัยที่ผ่านมา. ทฤษฎีคืออะไร ?
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
นโยบายด้านบริหาร.
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทำโดย นางสาว นุชธิดา เนียรศิริ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
ท วรรณกรรมปัจจุบัน.
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
องค์ประกอบของบทละคร.
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
กราบนมัสการ พระปริยัติสารเวที,ดร. คณบดีคณะศึกษาศาสตร์
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
ความเป็นครู.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การวิจัยในงานประจำ.
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อหลักสูตร หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา Bachelor of ……. Program in ………….
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ชื่อเรื่องวิจัย ผู้วิจัย นางเพียรทอง อุ่นบุญธรรม
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ เนื้อหา มีเนื้อหารายวิชาที่ทันสมัย หลากหลาย และที่เป็นการบูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับ วรรณคดีศึกษาเข้ากับการศึกษาวัฒนธรรมทั้งในระดับสากลและพื้นถิ่น เป็นการศึกษาที่มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ บูรณาการศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ มานุษยวิทยา นิเทศศาสตร์ วัฒนธรรมศึกษา สตรีศึกษา จิตวิทยา ฯ เนื้อหารายวิชาคลอบคลุมหลายบริบทวัฒนธรรม เพื่อทำความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างบริบทวัฒนธรรมต่างๆ การศึกษาเน้นการทำวิทยานิพนธ์ ส่งเสริมให้นิสิตทำงานตามความสนใจอย่างเต็มที่ด้วยการค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์และวิจัย และมีโอกาสทำงานอย่างใกล้ชิดกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

ตัวอย่างรายวิชา 2210624 สัมมนาวรรณคดีกับสิทธิมนุษยชน 2210624 สัมมนาวรรณคดีกับสิทธิมนุษยชน ความสำคัญของวรรณคดีในฐานะสื่อที่นำเสนอประเด็นสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก บทบาทของ นักเขียนในการสร้างจิตสำนึกและรณรงค์เรียกร้องสิทธิมนุษยชนผ่านวรรณกรรม การวิเคราะห์วิจารณ์งานวรรณกรรมคัดสรร 2210710 วรรณคดีแนวหลังอาณานิคม ความสัมพันธ์ระหว่างจักรวรรดินิยมกับวรรณคดีแนวหลังอาณานิคม บทบาทของวรรณกรรมในการสร้างอัตลักษณ์ชาติและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ทฤษฎีแนวหลังอาณานิคมและการวิจารณ์วรรณคดี 2210717 สัมมนาวรรณกรรมสตรี ขบวนการเรียกร้องสิทธิสตรีและอิทธิพลที่มีต่อวรรณกรรมสตรีในวัฒนธรรมตะวันตก แนวคิดสตรีนิยมและอิทธิพลที่มีต่อ วรรณกรรมสตรีในวัฒนธรรมตะวันออก วรรณกรรมสตรีคัดสรรและผู้เขียน 2210720 สัมมนาทฤษฎีวรรณคดี ทฤษฎีวรรณคดีที่สำคัญ วิเคราะห์ทฤษฎีวรรณคดีที่น่าสนใจและนำมาประยุกต์ใช้ในการวิจารณ์วรรณกรรม 2210724 สัมมนานวนิยาย พัฒนาการเกี่ยวกับแนวคิดและกลวิธีของนวนิยายทั้งตะวันออกและตะวันตก 2210762 สัมมนาวรรณคดีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สัมมนาวรรณกรรมของประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยให้ความสำคัญกับแนวคิด เนื้อหา รูปแบบและอิทธิพล วิเคราะห์วรรณกรรมเอกเฉพาะเรื่อง

นิสิต ประวัติศาสตร์ฯ กระตุ้นให้เกิดความหลากหลายในการแลกเปลี่ยนความคิด  นิสิตมาจากสาขาวิชาที่หลากหลายเช่น วิทยาศาสตร์ นิเทศศาสตร์ วรรณคดีศึกษา ประวัติศาสตร์ฯ กระตุ้นให้เกิดความหลากหลายในการแลกเปลี่ยนความคิด  รายวิชาที่ทันสมัยเปิดโอกาสให้นิสิตได้เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนกับมหาวิทยาลัย หรือหน่วยงานต่างประเทศที่มีความสนใจที่สอดคล้องกัน นับเป็นการเปิดโลกทัศน์ ทางวิชาการและประสบการณ์ชีวิตที่มีค่า  นิสิตสามารถพัฒนาศักยภาพในการวิจัย ใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญที่ได้จาก ประสบการณ์การค้นคว้าวิจัยเพื่อประกอบอาชีพได้หลากหลาย  มีความเข้าใจวัฒนธรรมและสังคม มีความรับผิดชอบและคุณธรรมต่อวัฒนธรรมและ สังคม

ตัวอย่างวิทยานิพนธ์ (2548) ผู้ประพันธ์ (2546)  ไพโรจน์ นุชพะเนียด. พัฒนาการของผู้หญิงในบริบทของความหลากหลายทางวัฒนธรรม (2549)  นารีมา แสงวิมาน. นวนิยายของนะญีบ มะห์ฟูซ: ผลกระทบของจักรวรรดินิยมที่มีต่อการเมืองและสังคมอียิปต์ (2548)  วิศิษย์ ปิ่นทองวิชัยกุล. เดอะ ไลท์ ออฟ เอเชีย ของเซอร์ เอ็ดวิน อาร์โนลด์: ภูมิปัญญาตะวันออกในโลกตะวันตก  นิพนธ์ ศศิภานุเดช. ขุนเขาแห่งจิตวิญญาณ ของเกาสิงเจี้ยน: ความสัมพันธ์ระหว่างตัวบทและทฤษฎีวรรณคดีของ ผู้ประพันธ์ (2546)  อุมารินทร์ ตุลารักษ์. บททำขวัญเรือและพิธีทำขวัญเรือของชาวไทยภาคใต้ : การสร้างสรรค์และการถ่ายทอด (2544, ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดี ประจำปี 2545)  ศิริพร ศรีวรกานต์. การศึกษาเปรียบเทียบทิลล์ ออยเลนชะปีเกลกับศรีธนญชัยในฐานะนิทานมุขตลก (2542, ตีพิมพ์ 2544, 2548 โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)