เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
Advertisements

ENVIRONMENTAL SCIENCE
ฟังให้ดีมีประโยชน์.
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
บรรยากาศ.
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
Global Warming.
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
ประชากร (Population) Gajaseni, 2001.
แบบของการเพิ่มประชากร
นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี
Ecological Balance Ecosystem Homeostatic System
ระบบนิเวศ (Ecology) Gajaseni, 2001.
ถาม สารอาหารหมุนเวียนในระบบนิเวศอย่างไร?
ผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สรุป เนื่องจากดูเหมือนว่าสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดลักษณะการกระจายของพืชพรรณ ดังนั้นถ้าบริเวณใดมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเหมือนที่เกิดขึ้นตามเส้นรุ้ง ก็น่าจะมีลักษณะของพืชพรรณเหมือนกันด้วย.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
BIO-ECOLOGY 2.
Energy and the environment พลังงานและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
Aesthetic of Home and Garden Dr. Naris Sinsiri Dr. Wantana Sinsiri.
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
การแพร่กระจายของประชากร (Dispersion)
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
ภาวะโลกร้อน.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
น้ำ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ 1. การถ่ายทอดพลังงาน (Energy transfer) 2. การถ่ายทอดสสาร (Material transfer) 3. การถ่ายทอดข้อมูล (Information transfer) ดังนั้น: ไม่มีระบบชีวิตใดที่มีบทบาท / ความสำคัญเหนือกว่าระบบอื่น Gajaseni, 2001

การจำแนกสิ่งแวดล้อม 1. จำแนกตามความเป็นจริงทางชีววิทยา 1. จำแนกตามความเป็นจริงทางชีววิทยา 1.1 สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต - ดินฟ้าอากาศ (Climate) : อุณหภูมิ, น้ำ, แสง, ลม - สถานะทางธรณีวิทยา : ดิน, หิน - การเปลี่ยนแปลงสิ่งรบกวน(Disturbance) : * การรบกวนตามธรรมชาติ เช่น ภูเขาไฟระเบิด, ไฟ แผ่นดินไหว, พายุ * การรบกวนที่มีสาเหตุจากมนุษย์ Gajaseni, 2001

Gajaseni, 2001

1.2 สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต = สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่อยู่ล้อมรอบ และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิต นั้นๆ Gajaseni, 2001

2. จำแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ของสิ่งมีชีวิต 2. จำแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ของสิ่งมีชีวิต 2.1 ทรัพยากร (Resources) = องค์ประกอบหนึ่งองค์ประกอบใดของสิ่งแวดล้อม ที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งเข้าไป “ครอบครอง” แล้วสิ่งมีชีวิตอื่นไม่สามารถเข้าไปใช้ครอบครองได้ ยกเว้นต้องต่อสู้แก่งแย่งกัน ตัวอย่างเช่น พื้นที่ทำรัง อาหาร แสงอาณาเขตปกครอง น้ำ (ในแหล่งน้ำที่สัตว์ลงมาใช้) Gajaseni, 2001

2.2 สถานะ (Condition) = ปัจจัยที่สิ่งมีชีวิตจำเป็นต้อง “ใช้” ซึ่งมีผลต่อการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ซึ่งสามารถใช้ร่วมกับสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่ต้องการได้ ตัวอย่างเช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสง(ความสั้นยาวของวัน) น้ำ (ในระบบนิเวศทางน้ำ) Gajaseni, 2001

รูป Gajaseni, 2001

ประเด็นเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 1. สิ่งมีชีวิตจะสามารถมีปฏิกิริยาต่อสิ่งแวดล้อม ที่สิ่งมีชีวิตนั้นมีความสามารถรับรู้ได้เท่านั้น 2. สิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดสามารถรับรู้ได้อาจจะแตกต่างกัน 3. สิ่งมีชีวิตอาจจะตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมในมาตราเวลาและพื้นที่แตกต่างจากมนุษย์ 4. การศึกษาฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมจำเป็นต้องศึกษาในบริบทของสิ่งสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ทั้งความสามารถในการรับรู้และมาตราของเวลา และพื้นที่ Gajaseni, 2001

รูปค้างคาว Gajaseni, 2001