การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แสดงให้คุณ SLIDEPLAYER.IN.TH
Advertisements

และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
E-Learning.
อาจารย์เอกนฤน บางท่าไม้ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
คุณค่าของอินเตอร์เน็ต
กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม
….E-Book สนุกสนาน…..
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
หนังสืออิเล็คทรอนิกส์
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การสร้างเนื้อหาและการเพิ่มหน้า
หนังสือไร้กระดาษ.
1 โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์ แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
เตรียมเอกสารประกอบการนำเสนอ
PHP LANGUAGE.
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
กระบวนการพัฒนา เอกสารเว็บเพจ
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
โปรแกรม DeskTopAuthor
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
Social Media for Education การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
ในห้องเรียนออนไลน์ (Web-Based Instruction) บนระบบบริการ Moodle LMS
การนำเสนอข้อมูล หน่วยที่ 1.
การเรียนรู้ Internet Explorer 6.0
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
เว็บเพจและเว็บไซต์ webpage website
ซอฟแวร์ประยุกต์.
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การทำ Link E-book.
ซอฟต์แวร์.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
Free ware (ฟรีแวร์).
การสร้างบทความใน Joomla
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
เว็บเพจ (Web Page).
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
การสร้าง website ด้วยโปรแกรมโปรแกรม Dreamweaver CS4 ตอนที่ 1
EBook Collection EBSCOhost.
HOME PAGE.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม CONTERT AUTHORING
E-Portfolio.
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
เริ่มใช้งาน Microsoft Office
โรงเรียนขัติยะวงษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
นาย ปิยะพงษ์ อัครธรรม รหัส สาขาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
รู้จักโปรแกรม Desktop Author
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ด้วยโปรแกรม Desktop Author ครูผู้สอน นางสาวสุภาวดี ศรีสวัสดิ์มงคล

แนะนำโปรแกรม Desktop หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เป็นเอกสารดิจิตอลที่มีลักษณะคล้ายหนังสือจริง  ประกอบไปด้วยตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี และเสียงอื่นๆ สามารถเผยแพร่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้         การเรียกใช้โปรแกรม Desktop Author เหมือนกับการเรียกใช้โปรแกรมทั่ว ๆ ไป จากสตาร์ทเมนู ภายในหน้าต่างโปรแกรม Desktop Author ประกอบไปด้วยส่วนประกอบของโปรแกรมมากมาย แต่ละส่วนจะเป็นคำสั่งการใช้งานโปรแกรม

คุณสมบัติของ Desktop Author 1.ไฟล์มีขนาดเล็ก ช่วยให้ง่ายในการดาวน์โหลด และส่งข้อมูล 2. มีลักษณะคล้ายกับหนังสือซึ่งเป็นรูปแบบที่อ่านแล้วเข้าใจได้ง่าย 3. สามารถสั่งพิมพ์หน้าแต่ละหน้า หรือทั้งหมดของหนังสือได้ 4. ผู้ใช้สามารถส่งต่อได้ง่ายโดยการส่งผ่านอีเมล์ หรือระบบเครือข่าย 5. สามารถใช้ได้ทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ PC และ Note Book        ผลงานเป็นได้ทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบ .exe สื่อออนไลน์ .html + .dnl ที่มีขนาดเล็กเหมาะสำหรับการนำเสนอผ่านเว็บไซต์ แต่การเรียกดูจำเป็นต้องติดตั้ง DNL Reader ก่อนจึงจะแสดงผลได้ และ Screen Saver (.scr) สำหรับการรักษาอายุจอภาพคอมพิวเตอร์ด้วยสื่อที่สร้างสรรค์ได้ด้วยตัวเอง

ส่วนประกอบของโปรแกรม Desktop Author 1. New ใช้สำหรับการสร้างงานใหม่ 2. Open ใช้สำหรับเปิดงานที่มีอยู่แล้วเพื่อดูหรือแก้ไข 3. Save ใช้สำหรับบันทึกไฟล์งานที่ได้ทำขึ้น 4. Page ใช้สำหรับชมตัวอย่าง (Preview) งานที่ได้ทำขึ้นมา

5. Package (EXE) ใช้บีบอัดไฟล์งานทั้งหมดที่ทำขึ้นมาให้รวมเป็นไฟล์เดียวโดยมีนามสกุลเป็น .EXE 6. Package (DNL) ใช้บีบอัดไฟล์งานทั้งหมดที่ทำขึ้นมาให้รวมเป็นไฟล์เดียวโดยมีนามสกุลเป็น .DNL สำหรับการทำเวบไซด์ 7. Package (DRM) ใช้ป้องกันไฟล์งานทั้งหมดที่ทำขึ้นมาเพื่อนำเสนอในเวบไซด์ไฟล์เดียวโดยมีนามสกุลเป็น .DRM 8. Package (SCR) ใช้ในการทำ Screen Saver

9. Publish ใช้สำหรับใส่ไฟล์ DNL ลงในเวบไซด์ 10. Upload ใช้สำหรับ Upload ไฟล์ที่ได้ทำขึ้นเวบไซด์ 11. Multimedia ใช้ในการแทรกไฟล์มัลติมีเดียต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเพลง หรือ มิวสิควีดีโอ หรือ ภาพยนตร์ สนับสนุนไฟล์นามสกุล .swf, .wma, .wav เป็นต้น 12. Eazyform ใช้ในการแทรกคำถาม คำตอบ และเพิ่ม Object ต่างๆลงในงาน

13. Refresh ใช้สำหรับ Refresh งานที่ทำ 14 13. Refresh ใช้สำหรับ Refresh งานที่ทำ 14. Properties ใช้ตั้งค่าต่างๆของ งานที่ทำ 15. Template ใช้เลือกรูปแบบต่างๆ ให้กับชิ้นงาน 16. Buttons ใช้เลือกปุ่มต่างๆที่จะให้มีในงานของเรา

ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับหนังสือทั่วไป ไม่ใช้กระดาษ (อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้) ใช้กระดาษ สามารถสร้างให้มีภาพเคลื่อนไหวได้ มีข้อความและภาพประกอบธรรมดา สามารถใส่เสียงประกอบได้ ไม่มีเสียงประกอบ สามารถแก้ไขและปรับปรุงข้อมูล (update) ได้ง่าย สามารถแก้ไขปรับปรุงได้ยาก สามารถสร้างจุดเชื่อมโยง (links) ออกไปยังข้อมูลภายนอกได้ มีความสมบูรณ์ในตัวเอง มีต้นทุนในการผลิตหนังสือต่ำ มีต้นทุนการผลิตสูง ไม่มีขีดจำกัดในการจัดพิมพ์ สามารถทำสำเนาได้ง่ายไม่จำกัด มีขีดจำกัดในการจัดพิมพ์

ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับหนังสือทั่วไป(ต่อ) สามารถอ่านผ่านคอมพิวเตอร์ และสั่งพิมพ์ผลได้ สามารถเปิดอ่านจากเล่ม อ่านได้อย่างเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม สามารถอ่านพร้อมกันได้จำนวนมาก (ออนไลน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถอ่านได้ 1 คนต่อหนึ่งเล่ม สามารถพกพาสะดวกได้ครั้งละจำนวนมากในรูปแบบของไฟล์คอมพิวเตอร์ และสามารถเข้าถึงโดยไม่จำกัดเรื่องสถานที่และเวลา สามารถพกพาลำบาก และต้องเดินทางไปใช้ที่ห้องสมุดและศูนย์สารนิเทศต่าง ๆ

ซอฟต์แวร์สำหรับสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น Adobe FrameMaker, Adobe PageMaker, Adobe InDesign, Adobe Acrobat, Adobe Acrobat Capture, The Read in Microsoft Reader add-in for Microsoft Word, The Palm Ebook, Studio authoring tool, DesktopAuthor, FlipAlbum เป็นต้น

จบการนำเสนอ