ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

 เป้าหมายพื้นที่ ( หมู่บ้าน ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ ฯลฯ )  เป้าหมายบุคคล ( ใคร เพศ อายุ อาชีพ ฯลฯ )  เป้าหมายตัวยา ( ชนิดยา / สารเสพ ติด ปริมาณ.
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
สื่อประกอบการเรียนรู้
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ เพื่อการเตือนภัยระดับ จังหวัด
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
การดื่มแอลกอฮอล์และการบริหารจิตและการเจริญปัญญา
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
ใช้สติอย่างสร้างสรรค์ ชีวิตทุกวันจะปลอดภัย
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์
ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
การเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
การศึกษาแบบพี่สอนน้อง (Teen as Teachers)
กิจกรรมนันทนาการ.
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ปัญหาเด็กไทย 1. เร่ร่อน/ ถูกทอดทิ้ง 6. เสพบุหรี่ สุรายาเสพติด
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สรุปประเด็นร่วมกันเพื่อหาแนวทาง ในการทำงานสุขภาพชุมชน
ระยะเว ลา ประเด็น วิธีการ / ช่องทาง การ ประชาสัมพั นธ์ ผู้รับผิดช อบ ตุลาคม ๒๕๕๗ วันสุขภาพจิตโลก ๑๐ - ประเด็นที่กรมสุขภาพจิตกำหนด ความสุขสร้างได้ด้วยตัวเรา.
การสร้างวินัยเชิงบวก
การก้าวทันยาเสพติดของวัยรุ่น
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
เทคนิคและวิธีการ ปฏิบัติงาน. การวางแผน การปฏิบัติงาน การวางแผน การปฏิบัติงาน ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและ สถานการณ์ กำหนดยุทธศาสตร์ และแผนการ ปฏิบัติงาน.
การลดปัญหาขยะในบริเวณโรงเรียนและการส่งเสริมการลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย นายปรีชา สลางสิงห์ นางสาวฐิติมา ขุมเงิน นางสาวกกมลทิพย์ วรโยธา โรงเรียนคำสร้อยพิทยาสรรค์
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
Succsess story กลุ่มงานฟื้นฟูสมรรถภาพหญิง
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
ยาเสพติด ยาเสพติด คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านภัย เราจะป้องกันยาเสพติด
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
ระบบเทคโนโลยี.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
แล้วคุณเป็นใคร ?.
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
รายงาน เรื่อง ทักษะปฏิเสธทางเพศ โดย เด็กหญิง สมัชญา ใจรักษา เลขที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต.
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
บทที่ 16 ครอบครัว.
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สารเสพติด เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก จัดทำโดย
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง ค่านิยมที่ดีและเหมาะสม ของเพื่อนสนิท.
เด็กชาย นนทวัฒน์ ภูมี ( P’ นัตตี้ )
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
เด็กปลอด เด็กหญิง ปาริชาติ ด่านณรงค์ ชั้น ม. 3/1 เลขที่ 10 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1 เด็กปลอด ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1

ยาเสพติด ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมี่อนำเข้าสู้ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ยังจะทำให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจำทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้ง  ลักษณะสำคัญของสารเสพติด จะทำให้เกิดอาการ และอาการแสดงต่อผู้เสพ

การสูบบุหรี การสูบบุหรี่จะทำร้ายตัวเอง ทำให้เกิดโรคมากมายที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่ ทุกปีจะมีผู้เสียชีวิตจากบุหรี่มากมาย สูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่นเสียเงินซื้อ เสียเงินรักษาโรค หยุดงานเพราะป่วย การสูบบุหรี่จะทำร้ายคนอื่น จะทำลายสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว เพื่อนร่วมงาน ทำให้เกิดโรค ในเด็ก เช่นหอบหืด หูอักเสบ

การพนัน หมายถึง การเล่นชนิดหนึ่งเพื่อเอาเงินหรือสิ่งอื่นใดด้วยการเสี่ยงโชค โดยการทำนายหรือคาดเดาผลที่เกิดขึ้นในอนาคต การพนันอาจแบ่งได้หลายอย่าง เช่น การพนันในการแข่งขัน ตัวอย่างเช่น เกมไพ่ เกมลูกเต๋า การพนันโดยการทำนายผลที่คาดว่าเกิดขึ้นในอนาคตเช่น การแทงบอล การแทงม้า และการพนันที่ไม่มีการแข่งขันโดยขึ้นกับความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดเช่น หวย

การทะเลาะวิวาร ปัญหาความรุนแรง และการทะเลาะวิวาท           ถือได้ว่าเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยที่สุด โดยเฉพาะในกลุ่มที่บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ โดยการทะเลาะวิวาทนั้น เกิดขึ้นโดยตรงกับผู้ร่วมสถานการณ์ เช่น สมาชิกในครอบครัว และกลุ่มผู้ร่วมดื่มนอกบ้าน นอกจากนี้ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยังเป็นสาเหตุของคดีอาญาต่างๆอีกด้วย เช่น  คดีอาญาฐานความผิดทำให้เสียทรัพย์ คดีอาญาฐานความผิดเกี่ยวกับเพศ และคดีอาญาฐานความผิดต่อร่างกาย

ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร สาเหตุ ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร    สาเหตุ    1. ครอบครัวหย่าร้าง ปล่อยปละละเลยในการอบรมเลี้ยงดู ตลอดจนขาดการเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุตรหลาน 2. บิดามารดาหรือผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา ไม่สามารถให้ความรู้ที่ถูกต้องเหมาะสมแก่บุตรหลาน  3. บิดามารดาหรือผู้ปกครองไม่รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีแลข้อมูลข่าวสาร 4. นักเรียนขาดความรัก ความอบอุ่น ความเข้าใจ ขาดการดูแลเอาใจใส่จากบิดามารดาหรือผู้ปกครอง  5. นักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาที่ถูกต้อง  6. นักเรียนลอกเลียนแบบพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจากสื่อต่าง ๆ ขาดการวิเคราะห์และใช้ข้อมูลข่าวสารอย่างมีวิจารณญาณ  7. นักเรียนขาดทักษะในการดำเนินชีวิต

การแก้ปัญหา 1.นั่งสมาธิทำจิตใจให้สบาย 2.ช่วยทำความสะอาดวัด โรงเรียน หรือหมู่บ้านของตนเอง 3. ต้องศึกษาทำความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้อง 4. ประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีแก่บุตรหลาน ไม่เล่นการพนัน