กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนรายงานทางวิชาการ รศ. ดร
Advertisements

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สอนให้ศิษย์ เก่ง ดี มีสุข รศ.นพ.สุชาติ อารีมิตร.
Graduate School Khon Kaen University
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Department of Orthopaedic Surgery
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ E-learning
ส6 สร้างสรรค์/นวัตกรรม
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ยินดีต้อนรับ คณะผู้ตรวจสอบและประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รศ.ดร. เสริมศรี ไชยศร และ รศ.ดร.ดาราวรรณ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัย ของ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ตามเกณฑ์ สกว.
นโยบายด้านงานแพทยศาสตรศึกษา
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
K hon K aen U niversity O ffice of Q uality M anagement ผลลัพธ์ IQA_KKU 2552.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
Company LOGO หลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ที่เปิดรับสมัคร ปี การศึกษา 2551 คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชารังสีวิทยาช่องปากและใบหน้า.
สรุปการประชุม เขต 10.
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิชา IT 1 Information Technology and Modern Life
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
แผนพัฒนาฝ่ายการศึกษาระดับหลังปริญญา และการศึกษาต่อเนื่อง
ชีวะ ม. ปลาย.
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชัน นางสาวอรชุมา บุญไกร โรงเรียนสิชลคุณาธาร วิทยา.
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก The e-Learning Readiness of PhD. Nursing Students ดร. เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ มหาวิทยาลัย.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา รศ.พญ.เสาวรัตน์ เอื้อเพิ่มเกียรติ 30 ต.ค.52

ข้อมูลอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยา จำนวนคน อาจารย์-MD 18 MD 15 MD, PhD 3 อาจารย์-non-MD 8 PhD 5 Master รวม 26 ขณะนี้ลาศึกษาต่อ 2 คน เหลือ 24 คน

ภาระงานสอน 1. ระดับก่อนปริญญา เป็นผู้ประสานงานหลักรายวิชา 364-351, 364-101 ร่วมสอนใน Block ต่างๆ ชั้นคลินิก และปรีคลินิก ภาระงานสอน ปี 2551 ชั้น preclinic ชม บรรยาย 72 ปฏิบัติการ 123 Facilitator PBL 906 Clinical correlation 15 ชั้น clinic   108 Team teaching 29 ER round 16 ER conference 4

การเรียนการสอน 2. ระดับหลังปริญญา หลักสูตร ป.บัณฑิต/board training สาขาพยาธิวิทยากายวิภาค หลักสูตร ป.บัณฑิต/board training สาขาพยาธิวิทยาคลินิก ภาระงานสอน ชั่วโมง, คน ปี 49 ปี 50 ปี 51 บรรยาย แพทย์ใช้ทุนปีที่ 1 (วิทยฯ พื้นฐาน) 1.5 5 บรรยาย เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 4 - แพทย์ใช้ทุนสาขาพยาธิวิทยาคลินิก แพทย์ใช้ทุนสาขาพยาธิวิทยากายวิภาค 1 คน 2 คน Elective patho พจบ/พชท ศัลย์/สูติ 16 คน 17 คน บรรยาย/ปฏิบัติการ/Group discussion หลักสูตร ชีวเวชศาสตร์,Molecular biology&Bioinformatics 12.5+16 16.5+6 15+8

สื่อการเรียนการสอนแบบ E-Learning Anatomical Pathology : Case of the Month Surgico-Radio-Pathological Case Conference CAI VDO streaming

Introduction                      ความรู้ทางด้านพยาธิวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานที่จำเป็นและสำคัญทางการแพทย์ เปรียบเสมือนลำต้นของต้นไม้ ในการเชื่อมโยงความรู้ทางด้าน basic science อันเปรียบเหมือนราก เข้ากับกิ่งก้านสาขา อันได้แก่ ความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ ใน ทางการแพทย์ อาทิ อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ เป็นต้น วิชาพยาธิวิทยาช่วยเสริมสร้าง ความเข้าใจภาวะหรือโรคในผู้ป่วยที่พบเจอในชีวิตประจำวัน บุคลากรทางการแพทย์ที่เข้าใจในพยาธิกำเนิด และพยาธิสภาพของโรคเป็นอย่างดีนั้น จะทำให้สามารถให้การดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ มากกว่าการท่องจำ ซึ่งมีโอกาสที่จะลืมได้ง่าย               ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาแพทย์ เรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านสื่อต่างๆ ทั้งตำรา วารสาร และข้อมูลบนอินเตอร์เนต โดยที่แหล่งความรู้ทางพยาธิวิทยาบนอินเตอร์เนตนั้น เกือบทั้งหมดเป็นของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ดังนั้น ภาควิชาพยาธิวิทยาจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง สำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปรีคลินิกที่ต้องเรียนวิชาพยาธิวิทยา และนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิคที่ต้องการทบทวน ความรู้เดิมที่เคยเรียนมาแล้ว รวมทั้งบุคลากรทางการแพทย์ที่สนใจท่านอื่นด้วย โดยจะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนเนื้อหาทุกเดือน

การประชุมวิชาการร่วมระหว่างภาควิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชารังสีวิทยา และภาควิชาพยาธิวิทยา หรือ Surgico- Radio-Pathological conference (SRP) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดให้มีขึ้น เป็นประจำทุกวันศุกร์ สัปดาห์สุดท้ายของเดือน เวลา 8.15 น. ณ ห้องประชุมภาควิชาศัลยศาสตร์ ชั้น 1 ตึก อายุรกรรม- ศัลยกรรม เพื่อนำเสนอผู้ป่วยทางศัลยกรรมที่น่าสนใจ มีการอภิปรายร่วมระหว่างอาจารย์แต่ละภาควิชา เพื่ออธิบาย และสรุปโรคของผู้ป่วย เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องเวลา ภาระหน้าที่การรักษาพยาบาล และระบบ rotation ของนักศึกษาแพทย์ แพทย์ใช้ทุน และแพทย์ประจำบ้าน ทำให้ผู้สนใจบางส่วนไม่สามารถเข้าร่วมประชุมในวันและเวลาดังกล่าวได้ ประกอบกับ การเรียนรู้สมัยใหม่นั้น การเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง และการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ได้อย่างสะดวก นับว่าเป็นสิ่งจำเป็น อย่างยิ่ง ดังนั้น ทางผู้ประสานงานของภาควิชาดังกล่าวได้มีความเห็นตรงกันว่า การประชุมวิชาการ SRP นี้น่าจะได้มีการ เผยแพร่ ให้กับบุคลากรผู้สนใจทั้งภายในและภายนอกคณะที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมในเวลาดังกล่าว ได้มีโอกาสเรียนรู้ร่วมกัน

Editor: อ.สมรมาศ กันเงิน Co-editor: อ.ถาวรเด่นดำรงทรัพย์ Co-editor: อาจารย์ภาคฯศัลย์

ผลการประเมิน Anatomical Pathology Case of the Month ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมิน 49 คน

ผลการประเมิน Anatomical Pathology Case of the Month จำนวน%

ผลการประเมิน Surgico-Radio-Pathological Case Conference ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมิน (จำนวน 69 คน)

ผลการประเมิน Surgico-Radio-Pathological Case Conference จำนวน(%)

CAI สรุปบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ภาควิชาพยาธิวิทยา ปี พ.ศ. จำนวน/เรื่อง 2540 1 2541 2542 5 2543 2544 2545 2546 2 2547 2548 2550 3 2552 รวม 23

บทเรียน CAI ของภาควิชาพยาธิวิทยา และจำนวนการใช้ของนักศึกษาแพทย์   เรื่อง อาจารย์ เริ่มใช้เมื่อ จำนวนครั้งที่เข้า ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 6 รวม 1 Iron Metabolism อ.ปิยรัตน์ 1/1/2540 27 72 5 105 2 โครโมโซมเอ็กซ์เปราะ นพ.พรพรต 1/1/2541 211 3 70 286 Pathology of pulmonary infection นพ.อนุพงศ์ 1/2/2542 37 49 6 94 4 Down syndrome 1/6/2542 216 135 172 59 586 Pathology of glomerular disease พญ.กอบกุล 1/7/2542 17 54 168 7 252 KUB tumor 1/10/2542 43 118 8 183 Urinalysis อ.จำนง 30/11/2542 Iron deficiency anemia 1/1/2543 15 41 57 9 The bethesda system for reporting cervicagical cytologic 1/9/2544 28 36 77 10 เนื้อเยื่อกระเพาะอาหาร อ.มุกดา 1/7/2545

บทเรียน CAI ของภาควิชาพยาธิวิทยา และจำนวนการใช้ของนักศึกษาแพทย์   เรื่อง อาจารย์ เริ่มใช้เมื่อ จำนวนครั้งที่เข้า ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 6 รวม 11 พันธุประวัติและการถ่ายทอดทางพันธุกรรม นพ.พรพรต 1/6/2546 174 92 130 3 399 12 พันธุศาสตร์ของมะเร็ง 18/11/2546 43 1 10 24 2 80 13 การตรวจทางห้องปฏิบัติการด้านพยาธิวิทยาคลินิก 1 อ.ปิยรัตน์ 4/4/2547 23 36 4 63 14 การตรวจทางห้องปฏิบัติการด้านพยาธิวิทยาคลินิก 2 23/4/2547 16 18 15 DNA & chromosome พญ.สินิจธร 4/1/2548 7 54 69 135 พยาธิสภาพของโรคที่พบบ่อยในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์ อ.มุกดา 10/3/2548 8 44 68 138 17 พยาธิสภาพของระบบทางเดินอาหาร 5/4/2548 57 73 5 137 Normal Flora พญ.สินีนาฏ 1/12/2548 28 19 Pathology of th Breast Carcinoma พญ.เสาวรัตน์ 16/12/2548 29 86 20 Neoplasia อ.สุภาพร 27/2/2550 78 50 146 21 Cerebrospinal Fluid 25/3/2550 74 79 70 233 22 Granulopoiesis and monophagocytosis system 4/10/2550 9 46 102 ผิวดีมีสุข อ.เสาวรัตน์ 1/09/2552 704 740 1194 517 77 3232

สรุปผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาควิชาพยาธิวิทยาของนักศึกษาแพทย์ ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม 2550 – 1 ตุลาคม 2552 จำนวนครั้งที่เข้า

http://lms.psu.ac.th

http://lms.psu.ac.th

แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning ต่อไป เป้าหมาย จัดทำสื่อการเรียนการสอนแบบ E-learning อย่างน้อยสาขาละ 1 เรื่อง/ปี สาขาพยาธิวิทยาคลินิก พยาธิวิทยากายวิภาค และนิติเวชศาสตร์และพิษวิทยา

รูปแบบ แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning เนื้อหา เป็นความรู้ตามรายวิชาที่สอนในชั้นปรีคลินิกและคลินิก เน้นให้มีตัวอย่าง case , lab interpretation คำถาม –พร้อมอธิบายเฉลยท้ายบทเรียน มีการประเมินผลบทการเรียนรู้ มีการประเมินสื่อโดยผู้ใช้

แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning สาขา อาจารย์ เรื่อง 1. พยาธิวิทยาคลินิก 1. นพ.จิตวัต รุ่งเจิดฟ้า และ 1. Anemia 2. hemolytic anemia 3. bleeding disorders 4. hematologic malignancy 2. พญ.สินีนาฏ กาลเนาวกุล 1. Respiratory 2. Cardiovascular 2. พยาธิวิทยากายวิภาค 1. พญ.คณิตา กายะสุต และ 2. พญ.มัลลิกา ภูเก้าล้วน ทำ SRP และ Case of the month ต่อ 3. นิติเวชและพิษวิทยา 1. นพ.วิระชัย สมัย 1. การประมาณเวลาตาย 2. การตายจากการขาดอากาศหายใจ

VDO streaming ของอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยา รายวิชา ปีการศึกษา 2551 / เรื่อง ปีการศึกษา 2552 / เรื่อง นศพ.ปีที่ 1 364-101: บทนำจีโนมของมนุษย์ 7 เทอม 2 นศพ.ปีที่ 2 311-211: บทนำวิทยาศาสตร์การแพทย์ 4 3 311-221: ภูมิคุ้มกันของร่างกายและการติดเชื้อ 311-231: ระบบหายใจ 1 311-241 : ระบบหัวใจหลอดเลือด 311-251: ระบบย่อยอาหารและโภชนาการ 311-261: ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์ นศพ.ปีที่ 3 311-311-312: ระบบประสาทการเคลื่อนไหวและพฤติกรรม 1-2 10 9 311-321: ระบบต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม 364-351: ระบบเลือดและชีววิทยาของเนื้องอก 11 388-361: วงจรชีวิตมนุษย์ 2 รวม 53 23

ปัญหาและอุปสรรค ผู้ทำ ขาดแรงจูงใจ ไม่ผูกกับการขอตำแหน่ง ไม่เห็นความสำคัญ ผู้ใช้ ดูแต่ไม่ประเมิน –รางวัล,interactiveการบ้าน, ภาษาอังกฤษเช่น case of the month