Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
Advertisements

ยินดีต้อนรับ.
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
การสัมมนาการจัดการความรู้ในองค์การ(KM) ครั้งที่ 6
นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Key Performance Indicators
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงการนำร่อง EdPex คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
กิจกรรมและบริการด้านการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ส6 สร้างสรรค์/นวัตกรรม
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
Work Shop การพัฒนาหลักสูตรสำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
STAFFS อาจารย์ แพทย์ใช้ทุน เจ้าหน้าที่ Ph.D. (9) M.Sc. (3)
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
ชุดวิชา QM604 วิธีการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ RESEARCH AND DEVELOPMENT IN QUALITY ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
พันธ กิจ สร้างและสนับสนุนงานวิจัยทาง อายุรศาสตร์ ที่มีคุณภาพและตอบสนองต่อ ปัญหาของประเทศโดยเฉพาะ ปัญหาทางสาธารณสุขใน ภาคใต้
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
จิบน้ำชา สายสนับสนุน 4 ตุลาคม 2554.
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
แผนการพัฒนางานประปีงบประมาณ 2553
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ นายไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ในการทำวิจัยR to R
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภาพรวมงานวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในปี 2548/49
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
สื่อการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยโปรแกรม Moodle
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สถาบันคลังสมองของชาติ 26 กุมภาพันธ์ 2554
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering Best Practice on PSU-VCR 29 September 2005 Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering Prince of Songkla University, Thailand ศูนย์วิจัยเครือข่าย Centre for Network Research (CNR)

มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กรณีตัวอย่าง e-learning มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์

ขอขอบคุณ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ รศ ดร วัลลภ สันติประภา รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผศ ดร อำนวย สิทธิเจริญชัย ผศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ ทีมพัฒนา รศ ดร สินชัย กมลภิวงศ์ ผศ ทศพร กมลภิวงศ์ อ สุธน แว่หว่อง นายสุวัฒน์ อนันตคุณูปกร ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Statistical Data of PSU-VCR

ข้อมูลสรุปการใช้งาน PSU-Virtual Classroom 2547 2546 จำนวนผู้ลงทะเบียนการใช้งาน VCR ประเภทผู้ใช้ จำนวน (คน) อาจารย์ 410 นักศึกษา 8,732 รวม 9,142 จำนวนผู้ลงทะเบียนการใช้งาน VCR ประเภทผู้ใช้ จำนวน (คน) อาจารย์ 214 นักศึกษา 3,604 รวม 3,818

Virtual Classroom ภาคการศึกษา2546-47 จำนวนรายวิชาที่มีการใช้งาน VCR แยกตามคณะ   คณะ 2547 2546 1 คณะทรัพยากรธรรมชาติ 23 22 2 คณะทันตแพทยศาสตร์ 10 8 3 คณะพยาบาลศาสตร์ 42 4 คณะวิทยาการจัดการ 52 5 คณะวิทยาศาสตร์ 35 43 6 คณะวิศวกรรมศาสตร์ 141 128 7 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 40 11 คณะเภสัชศาสตร์ 57 49 9 คณะเศรษฐศาสตร์ ส่วนกลางมหาวิทยาลัย คณะศิลปศาสตร์ รวม 427 275

จำนวนรายวิชาที่ใช้งานใน VCR แยกตามภาคการศึกษา ปีการศึกษา ภาคการศึกษา (จำนวนวิชา) รวม 1 2 ฤดูร้อน 2545 69 112 6 187 2546 182 133 10 325 2547 259 213 17 489 2548 284 -

System Overview หน่วยทะเบียน

การปฏิบัตงานตามแผน (Deployment) ได้แก่ การดำเนินงานหรือการนำไปใช้ ปี พ.ศ. 2544 มหาวิทยาลัยฯได้ให้ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ทำการพัฒนาระบบ VCR ขึ้นมาเพื่อใช้งาน

การปฏิบัตงานตามแผน (Deployment) ได้แก่ การดำเนินงานหรือการนำไปใช้ ปี พ.ศ. 2545-2547 2545 เป็นปีการศึกษาแรก ที่มีการใช้งานระบบ VCR มีการปรับปรุงการใช้งานมาโดยตลอด โดยมีนักวิชาการ 1 คน ทำหน้าที่ในการดูแล Server และให้ความช่วยเหลือ มหาวิทยาลัยฯ จัดให้มีการบรรยายความก้าวหน้าด้าน e-Learning และการอบรมภาคปฏิบัติแก่คณาจารย์ทุกปี

การปฏิบัตงานตามแผน (Deployment) การดำเนินงานหรือการนำไปใช้ ปี พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยฯ เห็นชอบให้มีการปรับปรุงระบบ VCR ปัจจุบัน ให้เป็นรุ่นใหม่ VCR-2 ซึ่งจะเปิดให้ใช้งานในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2548 http://vcr2.coe.psu.ac.th

กลยุทธ์ที่นำไปสู่ความสำเร็จหรือปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ เป็นโครงการบูรณาการที่มีการประสานอย่างเป็นระบบ นั่นคือ มีส่วนของเชิงนโยบายและส่วนเครื่องมือ/ทุนสนับสนุนและการเชื่อมโยงการปฏิบัติงาน การศึกษาและวิจัย เป็นงานที่สนับสนุน Core Business โดยตรง

กลยุทธ์ที่นำไปสู่ความสำเร็จหรือปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ Drivers Hit/Hot Demands Supplement Competition Technology นโยบาย KPI บุคคลและหน่วยงาน นโยบาย/การสนับสนุน เครื่องมือ/ การสนับสนุน ระบบงาน VCR ทุนสนับสนุน เครือข่าย Hardware/Software ระบบทะเบียน การเชื่อมโยงฐานข้อมูล KPI การใช้งาน การประเมินและวัดผล

กลยุทธ์ที่นำไปสู่ความสำเร็จหรือปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ Case Study เชื่อมโยงกับการวิจัยและพัฒนา -> Our problems, -> Our knowledge มีโครงงานนักศึกษากว่า 15 โครงการ (integrat to our regular study and research) ตีพิมพ์ระดับชาติและนานาชาติ 2 บทความ เผยแพ่รทางหนังสือพิมพ์ 6 ตอน บรรยายนอกมหาวิทยาลัย 3 ครั้ง Spin off เป็นโครงการ Interactive Distance Learning (IDL)

แผนหรือแนวทางพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต มี 2 เรื่อง เชิงนโยบายและทิศทาง ปรับปรุง/พัฒนาเครื่องมือและระบบงาน

แผนหรือแนวทางพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต 1. เชิงนโยบายและทิศทาง นโยบาย การใช้งาน การให้การบริการ การพัฒนา เช่น ความต่อเนื่อง -> หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง ทุน/Frame Work/Open Source -> หลายหน่วยงานร่วมกันวิจัยและพัฒนา เราน่าจะให้บริการ e-learning แก่ศิษเก่า มอ ได้ เราน่าจะให้บริการ e-learning กับสังคม โรงเรียนท้องถิ่นได้ กำหนดเป้าหมาย

แผนหรือแนวทางพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต 2. ปรับปรุง/พัฒนาเครื่องมือและระบบงาน ขณะนี้ได้ทำการพัฒนาระบบห้องเรียนเสมือนรุ่นใหม่ คือ VCR-2 ซึ่งจะลดข้อจำกัดการใช้งานในระบบปัจจุบัน การเพิ่มความสามารถในด้านการวิเคราะห์ (Analysis) การประเมินผล (Evaluation) และด้านสถิติ (Statistical Data) เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านคุณภาพด้านการเรียนการสอน

แผนหรือแนวทางพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต ปรับปรุง/พัฒนาเครื่องมือและระบบงาน การเพิ่มความสามารถในด้านการติดต่อสื่อสาร เช่น การเชื่อมต่อระบบ Pocket PC, Mobile Phone การรองรับมาตรฐาน e–learning เช่น SCORM Based Contents

บทสรุป รองรับพันธกิจหลัก เป็นเครื่องมือ เพื่อช่วยการเรียนการสอน การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Need more development/collaborations) Right Approach/Direction Cost Effective

ขอบคุณครับ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ ksinchai@ratree.psu.ac.th http://www.coe.psu.ac.th/