Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering Best Practice on PSU-VCR 29 September 2005 Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering Prince of Songkla University, Thailand ศูนย์วิจัยเครือข่าย Centre for Network Research (CNR)
มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กรณีตัวอย่าง e-learning มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์
ขอขอบคุณ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ รศ ดร วัลลภ สันติประภา รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผศ ดร อำนวย สิทธิเจริญชัย ผศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ ทีมพัฒนา รศ ดร สินชัย กมลภิวงศ์ ผศ ทศพร กมลภิวงศ์ อ สุธน แว่หว่อง นายสุวัฒน์ อนันตคุณูปกร ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Statistical Data of PSU-VCR
ข้อมูลสรุปการใช้งาน PSU-Virtual Classroom 2547 2546 จำนวนผู้ลงทะเบียนการใช้งาน VCR ประเภทผู้ใช้ จำนวน (คน) อาจารย์ 410 นักศึกษา 8,732 รวม 9,142 จำนวนผู้ลงทะเบียนการใช้งาน VCR ประเภทผู้ใช้ จำนวน (คน) อาจารย์ 214 นักศึกษา 3,604 รวม 3,818
Virtual Classroom ภาคการศึกษา2546-47 จำนวนรายวิชาที่มีการใช้งาน VCR แยกตามคณะ คณะ 2547 2546 1 คณะทรัพยากรธรรมชาติ 23 22 2 คณะทันตแพทยศาสตร์ 10 8 3 คณะพยาบาลศาสตร์ 42 4 คณะวิทยาการจัดการ 52 5 คณะวิทยาศาสตร์ 35 43 6 คณะวิศวกรรมศาสตร์ 141 128 7 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 40 11 คณะเภสัชศาสตร์ 57 49 9 คณะเศรษฐศาสตร์ ส่วนกลางมหาวิทยาลัย คณะศิลปศาสตร์ รวม 427 275
จำนวนรายวิชาที่ใช้งานใน VCR แยกตามภาคการศึกษา ปีการศึกษา ภาคการศึกษา (จำนวนวิชา) รวม 1 2 ฤดูร้อน 2545 69 112 6 187 2546 182 133 10 325 2547 259 213 17 489 2548 284 -
System Overview หน่วยทะเบียน
การปฏิบัตงานตามแผน (Deployment) ได้แก่ การดำเนินงานหรือการนำไปใช้ ปี พ.ศ. 2544 มหาวิทยาลัยฯได้ให้ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ทำการพัฒนาระบบ VCR ขึ้นมาเพื่อใช้งาน
การปฏิบัตงานตามแผน (Deployment) ได้แก่ การดำเนินงานหรือการนำไปใช้ ปี พ.ศ. 2545-2547 2545 เป็นปีการศึกษาแรก ที่มีการใช้งานระบบ VCR มีการปรับปรุงการใช้งานมาโดยตลอด โดยมีนักวิชาการ 1 คน ทำหน้าที่ในการดูแล Server และให้ความช่วยเหลือ มหาวิทยาลัยฯ จัดให้มีการบรรยายความก้าวหน้าด้าน e-Learning และการอบรมภาคปฏิบัติแก่คณาจารย์ทุกปี
การปฏิบัตงานตามแผน (Deployment) การดำเนินงานหรือการนำไปใช้ ปี พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยฯ เห็นชอบให้มีการปรับปรุงระบบ VCR ปัจจุบัน ให้เป็นรุ่นใหม่ VCR-2 ซึ่งจะเปิดให้ใช้งานในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2548 http://vcr2.coe.psu.ac.th
กลยุทธ์ที่นำไปสู่ความสำเร็จหรือปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ เป็นโครงการบูรณาการที่มีการประสานอย่างเป็นระบบ นั่นคือ มีส่วนของเชิงนโยบายและส่วนเครื่องมือ/ทุนสนับสนุนและการเชื่อมโยงการปฏิบัติงาน การศึกษาและวิจัย เป็นงานที่สนับสนุน Core Business โดยตรง
กลยุทธ์ที่นำไปสู่ความสำเร็จหรือปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ Drivers Hit/Hot Demands Supplement Competition Technology นโยบาย KPI บุคคลและหน่วยงาน นโยบาย/การสนับสนุน เครื่องมือ/ การสนับสนุน ระบบงาน VCR ทุนสนับสนุน เครือข่าย Hardware/Software ระบบทะเบียน การเชื่อมโยงฐานข้อมูล KPI การใช้งาน การประเมินและวัดผล
กลยุทธ์ที่นำไปสู่ความสำเร็จหรือปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ Case Study เชื่อมโยงกับการวิจัยและพัฒนา -> Our problems, -> Our knowledge มีโครงงานนักศึกษากว่า 15 โครงการ (integrat to our regular study and research) ตีพิมพ์ระดับชาติและนานาชาติ 2 บทความ เผยแพ่รทางหนังสือพิมพ์ 6 ตอน บรรยายนอกมหาวิทยาลัย 3 ครั้ง Spin off เป็นโครงการ Interactive Distance Learning (IDL)
แผนหรือแนวทางพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต มี 2 เรื่อง เชิงนโยบายและทิศทาง ปรับปรุง/พัฒนาเครื่องมือและระบบงาน
แผนหรือแนวทางพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต 1. เชิงนโยบายและทิศทาง นโยบาย การใช้งาน การให้การบริการ การพัฒนา เช่น ความต่อเนื่อง -> หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง ทุน/Frame Work/Open Source -> หลายหน่วยงานร่วมกันวิจัยและพัฒนา เราน่าจะให้บริการ e-learning แก่ศิษเก่า มอ ได้ เราน่าจะให้บริการ e-learning กับสังคม โรงเรียนท้องถิ่นได้ กำหนดเป้าหมาย
แผนหรือแนวทางพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต 2. ปรับปรุง/พัฒนาเครื่องมือและระบบงาน ขณะนี้ได้ทำการพัฒนาระบบห้องเรียนเสมือนรุ่นใหม่ คือ VCR-2 ซึ่งจะลดข้อจำกัดการใช้งานในระบบปัจจุบัน การเพิ่มความสามารถในด้านการวิเคราะห์ (Analysis) การประเมินผล (Evaluation) และด้านสถิติ (Statistical Data) เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านคุณภาพด้านการเรียนการสอน
แผนหรือแนวทางพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต ปรับปรุง/พัฒนาเครื่องมือและระบบงาน การเพิ่มความสามารถในด้านการติดต่อสื่อสาร เช่น การเชื่อมต่อระบบ Pocket PC, Mobile Phone การรองรับมาตรฐาน e–learning เช่น SCORM Based Contents
บทสรุป รองรับพันธกิจหลัก เป็นเครื่องมือ เพื่อช่วยการเรียนการสอน การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Need more development/collaborations) Right Approach/Direction Cost Effective
ขอบคุณครับ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ ksinchai@ratree.psu.ac.th http://www.coe.psu.ac.th/