ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
โครงการจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย
แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
Workshop 1.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การวางแผนกลยุทธ์.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
Analyzing The Business Case
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การสร้างวิสัยทัศน์(Vision) ประเด็นยุทธศาสตร์
การจัดทำแผนที่กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
การบริหารเชิงกลยุทธ์แบบบูรณาการ
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
กลุ่มที่ 3.
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
Balanced Scorecard ( BSC ).
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
SWOT.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
และการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
การทบทวนตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ ประจำปี 2555 สสจ
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘ ภายหลังที่ทราบผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๓ ระหว่าง ๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ถึง ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔

การบริหารกลยุทธ์ที่ต่อเนื่องและครบวงจร การกำหนดทิศทาง การวางแผนกลยุทธ์ การวางกลยุทธ์ การวิเคราะห์ทางกลยุทธ์ การแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ การประเมินและทบทวนกลยุทธ์ การปฏิบัติตามกลยุทธ์ การเชื่อมกับแผนปฏิบัติการและงบประมาณ

การแก้ไขปัญหา 4 รูปแบบ กลยุทธ์ประเภท ไม่เสี่ยง-รักษาสภาพ “องค์กรอาจต้องมีแนวทางและทางเลือกแก้ไขปัญหาหลายด้าน/ต้องพิจารณาหาลำดับความสำคัญแนวทางเลือก” ยุทธศาสตร์ ที่เหมาะสม เสริมและใช้ โอกาส-จุดแข็ง (รุก) แก้ไขและป้องกัน จุดอ่อน-อุปสรรค (รับ) แผนงานที่น่าจะเป็น ช่วงสั้น ช่วงสั้น-ยาว กลยุทธ์ประเภท ไม่เสี่ยง-รักษาสภาพ ลด เลิก โอนย้าย ลองเสี่ยง-ปรับปรุง ลุย-เร่งขยาย โอกาส O ข้อจำกัด T จุดอ่อน W จุดแข็ง S

ความสัมพันธ์ผังSWOTและกลยุทธ์ ทางเลือก S+O=Matching approach กลยุทธ “ขยายพลัง” ที่เน้นการใช้จุดแข็ง เพื่อเปิดโอกาสใหม่การแข่งขันขององค์กร W+O=Off-set approach กลยุทธ “ลองเสี่ยง” แก้ไขจุดอ่อน เพื่อใช้โอกาสที่มีอยู่ขององค์กร S+T=Covering approach กลยุทธ “ลดเสี่ยง”อาศัยจุดแข็ง ต้านและตรึง ภาวะคุกคาม ที่มีต่อวัตถุประสงค์ขององค์กร W+T=Mitigation approach กลยุทธ “ลด-เลิก” หาทางผ่านพ้นจุดอ่อน และเลี่ยงภาวะคุกคาม ที่ปิดบังวัตถุประสงค์องค์กร S O T W

ประเด็นที่เสนอเพื่อการพิจารณา การประเมินและทบทวนกลยุทธ์ เพื่อประโยชน์ในการทำแผนปรับปรุง ไว้อย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงใด ที่มีผลกระทบต่อสภาวะภายในและสภาวะภายนอกของคณะวิทยาการสารสนเทศ หรือไม่ มีการวิเคราะห์ทางกลยุทธ์ตามปัจจัยสภาพแวดล้อมปัจจุบันแล้วใช่หรือไม่ โดยมีความสอดคล้องกับร่างแผนปรับปรุงที่นำเสนออย่างไร ทิศทางในการวางกลยุทธ์ของคณะวิทยาการสารสนเทศ ยังคงตามแผนกลยุทธ์เดิม หรือมีการปรับเปลี่ยนทิศทางใหม่หรือไม่

ขอบเขตของกิจกรรมของคณะวิทยาการสารสนเทศ แผนยุทธศาสตร์/แผนกลยุทธ์ (strategic plan) กำหนดกลยุทธ์ของคณะวิทยาการสารสนเทศ ช่วงเวลา ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘ รวมกิจกรรมทุกอย่างของคณะวิทยาการสารสนเทศ แผนดำเนินงาน (operational plan) กำหนดขึ้นเพื่อใช้สำหรับแต่ละกิจกรรม เช่น แผนการเงิน ของคณะวิทยาการสารสนเทศ เป็นต้น กำหนดขึ้นเพื่อให้ทำกิจกรรมให้แผนกลยุทธ์บรรลุผล

การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management: RBM) บางครั้งถูกเรียกว่า การบริหารงานโดยยึดวัตถุประสงค์ (Management by Objective : MBO) มีขั้นตอนการปฏิบัติ ๔ ขั้นตอน การวางแผนกลยุทธ์ของคณะวิทยาการสารสนเทศ การกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดการดำเนินงาน การวัดและการตรวจสอบผลการดำเนินงาน การให้รางวัลตอบแทน

การวางแผนกลยุทธ์ของคณะวิทยาการสารสนเทศ เป็นการวางยุทธศาสตร์หรือการวางกลยุทธ์ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในคณะวิทยาการสารสนเทศ (SWOT Analysis) เพื่อให้ได้มาซึ่งเป้าประสงค์หรือวิสัยทัศน์ (Vision) ของคณะวิทยาการสารสนเทศ อันจะนำไปสู่การกำหนดพันธกิจ (Mission) วัตถุประสงค์ (Objective) เป้าหมาย (Target) และกลยุทธ์การดำเนินงาน (Strategy) รวมถึงการพิจารณา ปัจจัยแห่งความสำเร็จของคณะวิทยาการสารสนเทศ (Critical Success Factors) สร้างตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) ด้านต่างๆ

การกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดผลดำเนินงาน ผู้บริหารและบุคลากรคณะวิทยาการสารสนเทศ ทำการตกลงร่วมเกี่ยวกับตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงาน ทำการสำรวจเพื่อหาข้อมูลหลักฐานเกี่ยวกับสภาพในปัจจุบัน (Baseline Data) เพื่อนำมาช่วยกำหนดตัวบ่งชี้ ในเชิงปริมาณ (Quantity) ในเชิงคุณภาพ (Quality) ในเชิงเวลา (Time) ในเชิงสถานที่หรือความคลอบคลุม (Place)

การวัดและการตรวจสอบผลการดำเนินงาน ผู้บริหารคณะวิทยาการสารสนเทศ ต้องจัดให้มีการตรวจสอบและรายงานผลการดำเนินงาน ของแต่ละตัวบ่งชี้ตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ เพื่อแสดงความก้าวหน้าและผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน ว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่ต้องการหรือไม่ สามารถจัดให้มีคณะบุคคลเพื่อทำการตรวจสอบผลการดำเนินงานเป็นเรื่องๆ ก็ได้ ตามความเหมาะสม

การให้รางวัลตอบแทน เมื่อพิจารณาผลการดำเนินงานแล้ว ผู้บริหารคณะวิทยาการสารสนเทศ จะต้องมีการให้รางวัลตอบแทน ตามระดับของผลงานที่ได้ตกลงกันไว้ อาจมีการให้ข้อเสนอแนะ หรือกำหนดมาตรการบางประการเพื่อให้มีการปรับปรุงผลงานให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้