MK201 Principles of Marketing

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
Advertisements

นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
การจัดการผลิตอย่างเป็นระบบ
รหัส หลักการตลาด.
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
Product and Price ครั้งที่ 8.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
จากหิ้งสู่ห้าง การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยพัฒนา
Priciples of Marketing
Lesson 2 Strategic Planning and The marketing Process &Market Segmentation,Targeting, and Positioning for Competitive Advantage.
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
MK201 Principles of Marketing
ระบบการบริหารการตลาด
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
การวางแผนกลยุทธ์.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
วิชาชีพและจริยธรรมทางการตลาด
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
แนวคิดการตลาดและการกำหนด กลยุทธ์การตลาด
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
Integrated Marketing Communication
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
Computer Application in Customer Relationship Management
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Aj Piramon Karnkunwithit.  การเมือง  เศรษฐกิจภายในประเทศและเศรษฐกิจโลก  ภัยธรรมชาติ  เทคโนโลยี  พฤติกรรมผู้บริโภค  กฎหมาย  สภาพแวดล้อม  คู่แข่ง.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 ข้อเสนอ การสร้างสรรค์ จังหวะเวลา และบริการที่มอบให้กับลูกค้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MK201 Principles of Marketing หลักการตลาด บทที่ 1 “แนวความคิดและความสำคัญของการตลาด”

วิวัฒนาการในยุคต่างๆ 5 ยุค แนวคิดหลักๆทางการตลาด แนวคิดเน้นการผลิต (Production Concept) แนวคิดเน้นผลิตภัณฑ์ (Product Concept) วิวัฒนาการในยุคต่างๆ 5 ยุค แนวคิดเน้นการขาย (Selling Concept) แนวคิดเน้นการตลาด (Marketing Concept) แนวคิดการตลาดเพื่อสังคม (Societal Marketing Concept)

MK201 Principles of Marketing ความแตกต่างระหว่างการตลาดและการขาย VS การตลาด การขาย เน้นที่ความต้องการของผู้บริโภค (Consumer Oriented) เน้นที่ความต้องการของผู้ขาย (Seller’s Oriented) 1 เริ่มต้นจากการกำหนดความต้อง การของผู้บริโภคแล้วจึงจัดหา หรือผลิตสินค้าเพื่อตอบสนอง ความต้องการนั้น เริ่มต้นจากการผลิตสินค้า จาก นั้นจึงหาวิธีที่จะจำหน่าย สินค้านั้น 2 มุ่งเน้นที่ยอดขายสูงสุด 3 มุ่งที่กำไรสูงสุด ใช้การวางแผนในระยะสั้นใน การผลิตสินค้าและมุ่งเพียง ตลาดที่มีอยู่ในปัจจุบัน ใช้การวางแผนระยะยาวในการผลิต สินค้ามีการหาตลาดใหม่ๆ เพื่อการ เติบโตของกิจการในอนาคต 4

แนวคิดการตลาดเพื่อสังคม Society (Human Welfare) Societal Marketing Concept Consumer (Want Satisfaction) Company (Profits) ที่มา Kolter Philin, Management, Prentice Hall, 1994

MK201 Principles of Marketing ความหมายของ “การตลาด” แนวคิดทางการตลาด (Marketing Concept) หมายถึง แนวคิดในการดำเนินธุรกิจที่มุ่งเน้นที่การตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ควบคู่กับการบรรลุวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร การตลาด (Marketing) หมายถึง กระบวนการวางแผนและบริหารผลิตภัณฑ์บริการ หรือแนวความคิด ราคา การส่งเสริมการตลาด และจัดกระจายผลิตภัณฑ์ บริการ หรือแนวคิดนั้นๆ เพื่อทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนที่สร้างความพึงพอใจแก่ผู้บริโภค และบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร * ที่มา American Marketing Association

ความหมายของ “ตลาด” ตลาด สถานที่มีผู้ซื้อและผู้ขายมาพบกันเพื่อตกลง แลก เปลี่ยนสินค้าหรือบริการกัน และมีการแลกเปลี่ยน สิทธิความเป็นเจ้าของในสินค้าหรือบริการ ในความหมายทั่วไป ความต้องการของผู้บริโภคที่มีความสามารถใน การหาซื้อสินค้าหรือบริการหนึ่งๆ หรืออาจกล่าว ได้ว่าตลาดในความหมายนี้คือ ลูกค้าหรือผู้บริโภค นั่นเองแต่ต้องเป็น “ผู้บริโภคที่มีความต้องการ มีอำนาจ การซื้อ เพียงพอสำหรับสินค้าหรือบริการ นั้นๆ มีความตั้งใจที่จะซื้อสินค้าหรือบริการนั้นๆ และมีสิทธิที่จะซื้อสินค้าหรือบริการนั้นๆได้ ในความหมายของนักการตลาด

ความจำเป็น (Need)และ ความต้องการ (Want) ขั้นพื้นฐานของมนุษย์ที่กระตุ้น ให้บุคคลกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ความหิว ความกระหาย ความจำเป็นในปัจจัย 4 ความต้องการ (Want) หมายถึง ความจำเป็นหรือ Need ที่ถูก พัฒนาขึ้นจากการเรียนรู้และประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ซึ่งทำให้เกิดความ หลากหลายในทางเลือกของผู้บริโภคสำหรับความต้องการนั้น

MK201 Principles of Marketing ตัวอย่างความจำเป็น และความต้องการ (Need and Want)

ความสำคัญของการตลาด 1. ความสำคัญต่อสังคมเศรษฐกิจ - สร้างอรรถประโยชน์ - สร้างอรรถประโยชน์ - กระจายรายได้และเกิดการจ้างงานมากขึ้น - ช่วยผลักดันให้เศรษฐกิจของประเทศมีการเจริญ เติบโต ทำให้มีเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 2. ความสำคัญต่อภาคธุรกิจ - สร้างรายได้และกำไร - การตลาดเป็นกลไกหลักในการดำเนินธุรกิจ 3. ความสำคัญต่อผู้บริโภค - สร้างทางเลือกให้ผู้บริโภค - ทำให้สินค้าและบริการมีราคาถูกลงและคุณภาพดีขึ้น - สร้างความสะดวกให้แก่ชีวิตผู้บริโภค

อรรถประโยชน์ (Utility) อรรถประโยชน์ด้านผลิตภัณฑ์ (Form Utility) อรรถประโยชน์ ด้านข้อมูล (Information Utility) อรรถประโยชน์ด้านเวลา (Time Utility) อรรถประโยชน์ (Utility) อรรถประโยชน์ ด้านสถานที่ (Place Utility) อรรถประโยชน์ใน ด้านความเป็นเจ้าของ (Ownership Utility)