(Screening for possible health impact)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Graduate School Khon Kaen University
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
รสริน อมรพิทักษํพันธ์ สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
การจัดทำงบประมาณ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การติดตาม และประเมินโครงการ.
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานและการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การอบรมเชิงปฏิบัติการ การตรวจสอบการบริหาร งบประมาณ การเงิน บัญชี และพัสดุ ของสถานศึกษา วันที่ 10 – 11 สิงหาคม 2549 ณ ห้องประชุม อาคาร 3.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปการประชุม เขต 10.
กรณีความเสี่ยง DMSc.
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
กระบวนการวิจัย Process of Research
การเขียนข้อเสนอโครงการ
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 26 มกราคม 2558
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศสำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง การนับระยะเวลาตามประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำแผนงานด้านความปลอดภัยในการทำงานสำหรับงานก่อสร้าง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
Subtitle TITLE LAYOUT. TITLE AND CONTENT LAYOUT WITH LIST Add your first bullet point here Add your second bullet point here Add your third bullet point.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Screening for possible health impact) การกลั่นกรอง นโยบาย แผนงาน และโครงการ (Screening for possible health impact) รองศาสตราจารย์ ดร. อุไรวรรณ อินทร์ม่วง ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น E-mail uraiwan@kku.ac.th การอบรมเชิงปฏิบัติการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2-6 มีนาคม 2552

วัตถุประสงค์ของการกลั่นกรอง เพื่อพิจารณาว่าแผนงาน โครงการ ต้องทำการศึกษา HIA หรือไม่ เพื่อรวบรวมข้อมูล และความคิดเห็น ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholders) เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการกลั่นกรอง (Screening Tool) เครื่องมือ กลั่นกรอง แผนพัฒนาตำบล ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ A Screening Tool for the Greater London Authority (GLA) - Strategic Level WHO Screening Tool Ireland HIA Screening Tool

วิธีการคัดกรองแผนงาน โครงการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับบริบทของแผนงาน/โครงการ (Participatory HIA screening workshop) ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย Stakeholders ที่เกี่ยวข้องกับแผนงาน/โครงการ ผู้แทน กลุ่มประชาชนที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ การประชุมระดมความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ การกำหนดโดย กฎหมาย/ข้อบังคับ ให้โครงการนั้นต้องจัดทำรายงาน HIA เช่น โครงการที่ทำ EIA ต้องทำ HIA

ผลลัพธ์ที่ได้จากการกลั่นกรอง สิ่งคุกคามต่อสุขภาพ และสิ่งที่สร้างเสริมสุขภาพ ที่อาจจะเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นแล้ว ที่เกี่ยวข้องกับแผนงาน/โครงการ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ ที่เกี่ยวข้องกับ แผนงาน/โครงการ และการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยกำหนดสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ กลุ่มประชาชนที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ กลุ่มที่ได้รับผลกระทบทางบวก กลุ่มที่ได้รับผลกระทบทางลบ (Vulnerable groups) การเปลี่ยนแปลงของภาวะสุขภาพ (Change in health outcome) ที่เกี่ยวข้องกับแผนงาน/โครงการ

ตัวอย่าง Participatory HIA screening workshop การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2550-2552) อบต. บึงเนียม

ตัวอย่าง ตารางสรุปผลการกลั่นกรอง HIA summary matrix ตารางสรุปผลการกลั่นกรองแผนพัฒนาตำบล

คณะกรรมการกำกับ ติดตาม (Steering Committee) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับแผนงาน/โครงการ ผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุข (อนามัยสิ่งแวดล้อม, การสร้างเสริมสุขภาพ และอื่นๆ) ผู้แทนของ กลุ่มผู้ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ หน้าที่ของ Steering Committee การกำหนดขอบเขตการศึกษา การควบคุมกำกับการประเมินให้เป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด การตรวจสอบคุณภาพของรายงาน HIA (Appraisal of HIA report)

การกำหนดขอบเขตการศึกษา Scoping รองศาสตราจารย์ ดร. อุไรวรรณ อินทร์ม่วง ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น E-mail uraiwan@kku.ac.th การอบรมเชิงปฏิบัติการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2-6 มีนาคม 2552

รายละเอียดการกำหนดขอบเขตของการประเมิน กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน ระบุ ขอบเขต สิ่งคุกคามสุขภาพ ปัจจัยกำหนดสุขภาพที่สำคัญที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ และ vulnerable groups (ผลลัพธ์จาก screening) ระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (relevant stakeholders) กำหนดระยะเวลาที่จะทำการประเมิน

รายละเอียดการกำหนดขอบเขตของการประเมิน (ต่อ) กำหนดพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ที่จะดำเนินการประเมิน กำหนดรูปแบบ HIA ที่จะดำเนินการประเมิน กำหนดทีมงานที่จะดำเนินการ (HIA team) การพิจารณางบประมาณที่จะใช้สำหรับดำเนินการ

องค์ประกอบของ Terms of Reference (TOR) บทนำ (Introduction) อธิบาย วัตถุประสงค์ของโครงการ และวัตถุประสงค์ของการทำ HIA ขอบเขตของงาน (Scope) พื้นที่ เวลา วิธีการ (ผลจากขั้นตอน scoping) กำหนดรายละเอียดของงาน (Tasks to be performed) ที่กำหนดให้ดำเนินการ และผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน กำหนดระยะเวลา (Timeframe) แผนการดำเนินงาน และกำหนดการส่งงาน (deadline)

Thank You for Your Attention