แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
การประเมินผลสถานศึกษา
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
PCTG Model อริยมงคล 55.
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
การวิจัย RESEARCH.
ปฏิบัติการขับเคลื่อน ห้องเรียนคุณภาพ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การวัดผล (Measurement)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
๘ กลยุทธ์ การยกระดับและคุณภาพ O-NET ปี ๒๕๕๕
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วันอังคารที่ 25 กุมภาพันธ์ 2557 ณ ห้องประชุมศรีสว่างรัตน์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
นโยบาย ยกระดับคุณภาพ การศึกษา. ๑. ระบบการ สอบ ๑. ๑ เนื้อหาสาระที่ใช้ออก ข้อสอบ ๑. ๒ รูปแบบของข้อสอบ ๑. ๓ การเตรียมพร้อมให้ นักเรียนคุ้นเคย กับวิธีการตอบ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.สุพักตร์ พิบูลย์...มสธ. ประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3

ท่านเห็นว่า เรื่องใดสำคัญที่สุด เรียงตามลำดับ(ใส่เลข 1 2 3) ท่านเห็นว่า เรื่องใดสำคัญที่สุด เรียงตามลำดับ(ใส่เลข 1 2 3) ........การวางแผน/จัดทำแผนจัดการเรียนรู้/แผนการสอน ........การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ/ใช้วิธีสอนที่หลากหลาย ........การศึกษา ค้นคว้า พัฒนาวิธีการใหม่ ๆ เพื่อนำมาใช้ ในการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน ........การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ........การประกันคุณภาพการศึกษา

ขอบเขตการเสวนา แนวคิดในการจัดการเรียนรู้และมาตรฐานงานวัดและประเมินผลในสถานศึกษา จุดมุ่งหมายและจุดเน้นของหลักสูตร ประเภทของเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ การสร้างแบบทดสอบ การสร้างแบบวัดคุณลักษณะและทักษะปฏิบัติ

องค์ประกอบของหลักสูตร 1 วัตถุประสงค์ (Objectives) การจัดประสบการณ์ (Learning Experience ) การประเมินผล (Evaluation) E = M+J

2 Excellent Teaches ---------------- The Complete Classroom (Steven Hastings, 2006)

ห้องเรียนคุณภาพ สพฐ. ; 2007

(มาตรฐานการจัดการเรียนรู้รายวิชา) โดยสรุป “ห้องเรียนคุณภาพ” (มาตรฐานการจัดการเรียนรู้รายวิชา) อาจเป็นดังนี้(ดร.สุพักตร์)

Standard 1. วางแผน/ออกแบบการเรียนรู้แบบอิงมาตรฐาน สร้างหน่วยเรียนรู้ อิงมาตรฐาน(Effective Syllabus) จัดทำแผนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ(Effective Lesson Plan) ฯลฯ Standard 2. ปฏิบัติการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Teaching) การเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ใช้เทคนิค/วิธีการสอนที่หลากหลาย/เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง ใช้ ICT สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ เสริมสร้างวินัยเชิงบวก ในกระบวนการสอน ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร เน้นให้นักเรียนสร้างผลงาน/ผลผลิตที่สร้างสรรค์

Standard 3. วัด ประเมินผล วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ(Effective Assessment) วิธีการ/เครื่องมือวัดผล มีคุณภาพ ประเมินตามสภาพจริง มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ พัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ด้านการจัดการเรียนการสอน นำผลการวิจัย/การประเมินมาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ฯลฯ

Standard 4. นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียน/ผลปรากฏต่อนักเรียน ชัดเจน พัฒนาการด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ผลงานเดี่ยว-ร้อยละนักเรียนได้เกรด 3-4, ร้อยละ นักเรียนได้ 0 ร ม.ส. และ ผลงานร่วม-O-NET) พัฒนาการด้านคุณลักษณะ/สมรรถนะตามจุดเน้นของหลักสูตร(ผลงานร่วม) พัฒนาการด้านอัตลักษณ์ของนักเรียน(ผลงานร่วม)

มาตรฐานงานการวัดและประเมินผล 3 มาตรฐานงานการวัดและประเมินผล

ยุคสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ ยุคประกันคุณภาพ/ ยุคบริหารแบบอิงมาตรฐาน Standard-based Administration...บริหารงาน/ปฏิบัติงาน แบบอิงมาตรฐาน จัดการเรียนการสอนแบบอิงมาตรฐาน/มาตรฐานการเรียนรู้ ใช้องค์ความรู้/หลักวิชาในการขับเคลื่อนองค์กร(Theory-Driven Approach)

การกำหนดมาตรฐาน เป็นเรื่องของการควบคุมคุณภาพงาน (Quality Control)

มาตรฐานเพื่อคุณภาพ (ใคร ๆ ก็พูดถึงมาตรฐาน) มาตรฐานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มาตรฐานงานส่งเสริมวิทยฐานะครู มาตรฐานครอบครัวอบอุ่น ฯลฯ --------------------------------------- มาตรฐานงานวัดและประเมินผล มาตรฐานงานประกันคุณภาพภายใน

มาตรฐานงานการวัดและประเมิน มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินระดับรายวิชา/กลุ่มสาระ มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินระดับโรงเรียน มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินผลระดับเขตพื้นที่การศึกษา

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมิน ระดับรายวิชา/กลุ่มสาระ มาตรฐานที่ 1 : ความรู้ด้านการวัดและประเมินของครู มาตรฐานที่ 2 : การออกแบบการวัด การประเมิน และการพัฒนาเครื่องมือวัด การกำหนดสัดส่วนคะแนน การกำหนดปฏิทินการวัดและประเมิน การจัดทำผังการทดสอบกลางภาค ปลายภาค การพัฒนาเครื่องมือ การเลือกใช้วิธีการวัด มาตรฐานที่ 3 : การดำเนินการวัดและประเมิน การประเมินความก้าวหน้า การให้ข้อมูลป้อนกลับ และการเสริมสมรรถนะผู้เรียน การตัดสินผลการเรียน

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมิน ระดับรายวิชา/กลุ่มสาระ(ต่อ) มาตรฐานที่ 4 : การวิจัยและพัฒนาเครื่องมือหรือระบบงาน การวัดและประเมินผล การพัฒนาแบบทดสอบ แบบวัด แบบประเมินทักษะ ฯลฯ การพัฒนาเครื่องมือวัด เทียบมาตรฐาน O-NET PISA การพัฒนาระบบประเมินตนเอง ระบบประเมินเพื่อเทียบโอนความรู้ ฯลฯ

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินผล ระดับโรงเรียน -------------- มาตรฐานที่ 1 : ความพร้อมด้านปัจจัยสนับสนุนงานวัดและประเมินผล สมรรถนะของครูในเรื่องการวัดและประเมินผล ระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนงานวัดและประเมินผลของครู ปฏิทินงานการวัดและประเมินผลในรอบปี มาตรฐานที่ 2 : การบริหารจัดการงานการวัดและประเมินผลในภาพรวม อย่างเป็นระบบ จัดทำปฏิทินงานการวัดและประเมินผลในรอบปี การเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน(กำหนดว่าใคร ทำอะไร เมื่อไร) การกำกับติดตาม นิเทศ งานการวัดและประเมินผล ประเมินผล และรับรองมาตรฐานคุณภาพรายวิชาและกลุ่มสาระการเรียนรู้

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินผล ระดับโรงเรียน(ต่อ) -------------- มาตรฐานที่ 3 : ปฏิบัติการวัดผลระหว่างภาคและปลายภาค การให้ข้อมูลป้อนกลับแก่นักเรียนและซ่อมเสริม ในระดับรายวิชา/กลุ่มสาระอย่างเป็นระบบ ร้อยละของครูจำแนกตามกลุ่มสาระ ที่จัดทำแผนการวัดและประเมินในรายวิชา จัดทำผังข้อสอบกลางภาคและปลายภาคแบบอิงมาตรฐาน ร้อยละของรายวิชาที่มีการพัฒนาเครื่องมือวัด โดยมีการวิเคราะห์ดัชนีคุณภาพเครื่องมืออย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละของครูที่ให้ข้อมูลป้อนกลับแก่นักเรียนเป็นระยะ ๆ และแจ้งคะแนนระหว่างภาคแก่นักเรียนเป็นรายบุคคล ซ่อมเสริมนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ระหว่างภาค(ก่อนการสอบปลายภาค)

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินผล ระดับโรงเรียน(ต่อ) -------------- มาตรฐานที่ 4 : การวัดและประเมินคุณลักษณะ และทักษะตามที่หลักสูตรกำหนด มีการนิยามคุณลักษณะ หรือทักษะ อย่างเป็นรูปธรรม มีการพัฒนาเครื่องมือวัดคุณลักษณะหรือทักษะ โดยมีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือตามเกณฑ์ที่กำหนด มีฐานข้อมูลผลการวัดและประเมินคุณลักษณะ หรือทักษะของนักเรียนเป็นรายบุคคล มาตรฐานที่ 5 : ประสิทธิผลจากการวัดและประเมิน ความน่าเชื่อถือของเกรดผลการเรียน หรือผลการวัดและประเมินคุณลักษณะหรือทักษะของผู้เรียน สหสัมพันธ์ระหว่างเกรดเฉลี่ยกับคะแนน O-NET จำแนกตามกลุ่มสาระ มีรายงานการวิเคราะห์ผลการเรียนรายกลุ่มสาระ ที่ระบุข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงพัฒนาอย่างชัดเจน

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินผล ระดับโรงเรียน(ต่อ) -------------- มาตรฐานที่ 6 : การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาระบบงานการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา รายงานการวิเคราะห์ วิจัยผลการวัดและประเมิน รายการนวัตกรรม/เครื่องมือวัด ทั้งประเภทแบบทดสอบ แบบวัดคุณลักษณะหรือทักษะ ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพตามเกณฑ์ ฐานข้อมูลเครื่องมือวัด หรือแนวคิดใหม่ ๆ ในการวัดและประเมิน

มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ งานการวัดและประเมินผล ของสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่ ------------------- มาตรฐานที่ 1 : ความพร้อมด้านปัจจัยสนับสนุนงานการวัดและประเมินผลแก่สถานศึกษา สมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลของศึกษานิเทศก์ ปฏิทินการนิเทศ ติดตามงานการวัดและประเมินผล ระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนงานวัดและประเมินผลแก่สถานศึกษา

มาตรฐานการควบคุมคุณภาพงานการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่(ต่อ) ------------------- มาตรฐานที่ 2 : การบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน พัฒนางานการวัดและประเมินผลแก่สถานศึกษา การสำรวจ วิเคราะห์ ปัญหาด้านการวัดและประเมินผลในรอบปี การจัดทำแผนงานโครงการเพื่อพัฒนางานการวัดและประเมินผลในรอบปี การจัดกิจกรรมและการนิเทศ เพื่อพัฒนางานด้านการวัดและประเมินผล การประเมินรับรองมาตรฐานด้านการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา การนิเทศและเสริมสมรรถนะสำหรับสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐานด้านการวัดและประเมิน

มาตรฐานที่ 3 : ประสิทธิผลจากการพัฒนางานการวัดและประเมินผล มาตรฐานการควบคุมคุณภาพงานการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่(ต่อ) ------------------- มาตรฐานที่ 3 : ประสิทธิผลจากการพัฒนางานการวัดและประเมินผล ร้อยละของสถานศึกษาที่ทำการวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติหรือระดับเขตพื้นที่แล้วจัดทำโครงการพัฒนารองรับอย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละของสถานศึกษาที่เกรดผลการเรียนมีความน่าเชื่อถือหรือเชื่อถือได้ รายการนวัตกรรม หรือผลงานศึกษา วิจัย และพัฒนาด้านการวัดและประเมินผลที่มีการนำไปใช้ประโยชน์ ร้อยละของโรงเรียนที่ผ่านการรับรองมาตรฐานจาก สมศ.ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เชิญ...อภิปราย ช่วงที่ 1 ครับ

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมิน ระดับรายวิชา/กลุ่มสาระ มาตรฐานที่ 1 : ความรู้ด้านการวัดและประเมินของครู มาตรฐานที่ 2 : การออกแบบการวัด การประเมิน และการพัฒนาเครื่องมือวัด การกำหนดสัดส่วนคะแนน การกำหนดปฏิทินการวัดและประเมิน การจัดทำผังการทดสอบกลางภาค ปลายภาค การพัฒนาเครื่องมือ การเลือกใช้วิธีการวัด มาตรฐานที่ 3 : การดำเนินการวัดและประเมิน การประเมินความก้าวหน้า การให้ข้อมูลป้อนกลับ และการเสริมสมรรถนะผู้เรียน การตัดสินผลการเรียน การวิจัยและพัฒนาระบบงานการวัดและประเมินผลรายวิชา(เช่น พัฒนาเครื่องมือวัดคู่ขนาน O-NET PISA เป็นต้น)