3. ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
สำนักควบคุมและตรวจสอบอาคาร
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
สำนักงานเลขานุการกรม
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
ผอ. สำนัก สถาปัตยกรรม (1/2) กลุ่มงาน สถาปัตยกรรม ข้าราชการ พนักงาน ราชการ 11 ลูกจ้างประ จำ -- กลุ่มงานงานตรวจสอบงาน สถาปัตยกรรมและงานกำหนด มาตรฐาน.
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
สถานการณ์การเงินการคลัง
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักสถาปัตยกรรม.
นางเอื้อมพร วงศ์สวัสดิ์ กุล ผู้อำนวยการกองแผนงาน.
สำนักงานตรวจสอบภายใน
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ยินดีต้อนรับ รายงานการดำเนินงานข้อมูลสารสนเทศ
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขต 5 ปี 2552
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
แบบรูปรายการก่อสร้าง สำหรับปีงบประมาณ 2558
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
ข้อเสนอแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน P4P
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
RMCDOTNET โปรแกรมบริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานภาพกำลังคนกระทรวงสาธารณสุข
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
สัดส่วนวิชาชีพต่อสายสนับสนุน
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

3. ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา การวิเคราะห์ภาระงานบุคลากร สายสนับสนุนในหน่วยบริการ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แยกเป็น 3 กลุ่ม 1. กลุ่มภารกิจอำนวยการ 2. กลุ่มสนับสนุนบริการ 3. ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา

การวิเคราะห์อัตรากำลัง กลุ่มภารกิจอำนวยการ

การวิเคราะห์อัตรากำลังภารกิจอำนวยการ 1.ฝ่ายบริหารทั่วไป รวม ห้องสมุด สารบรรณ เลขา นิติกร รปภ. ปชส.ซักฟอก ยานพาหนะ ขยะ บำบัดน้ำเสีย รักษาศพฯ ไม่รวม ทำความสะอาด และ งานสวน 2.ฝ่ายการเงินและบัญชี รวมจัดเก็บรายได้ในหอผู้ป่วย 3.ฝ่ายพัสดุและซ่อมบำรุงรักษา 4.ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ 5.ฝ่ายแผนงานและศูนย์คอมพิวเตอร์

FTE : Full Time Equivalent “จำนวนพนักงานปฏิบัติงานเต็มเวลาเมื่อ เทียบกับเวลามาตรฐานการทำงาน” เวลามาตรฐาน กำหนดให้ทำงาน 7 ชั่วโมงต่อวัน จำนวน 240 วันต่อปี(หักวันหยุด) ดังนั้น 1 FTE มีค่าเท่ากับ 1,680 ชั่วโมงต่อปี การคำนวณ FTE คำนวณจากภาระ งาน (Workload) หารด้วย เวลา มาตรฐาน การทำงาน

ภาระงาน (workload) ภาระงาน : ปริมาณงาน เช่น บริการ ผู้ป่วยนอก มีหน่วยนับเป็นครั้ง (Case Visit) คูณด้วย เวลาที่ใช้ ในการให้บริการแต่ละครั้ง เช่น พยาบาลใช้เวลาดูแลผู้ป่วยนอก 12 นาที ต่อครั้ง (0.2 ชั่วโมง) มีปริมาณงานผู้ป่วย นอก จำนวน 57,000 ครั้งต่อปี ดังนั้น ภาระงาน มีค่าเท่ากับ 57,000 x 0.2 = 11,400 ชั่วโมงต่อปี

FTE : Full Time Equivalent กรอบอัตรากำลัง = 80 % ของ FTE เช่น ตามตัวอย่างภาระงานของพยาบาล 11,400 ชั่วโมงต่อปี ดังนั้น พยาบาลจะมี FTE เท่ากับ 11,400/1,680 = 6.78 FTE กรอบอัตรากำลัง = 80 % ของ FTE

วิธีการวิเคราะห์อัตรากำลังแบบ FTE หลักการ ปริมาณงานต่อปี X ค่ากลาง(นาที/งาน) (เวลาทำงาน 240 วัน x 7ชั่วโมง x 60นาที) ค่ากลางของเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมหนึ่งๆ กำหนดโดยคณะทำงาน ใช้เหมือนกันทุกขนาด รพ. เนื่องจากลักษณะงาน ใช้ระเบียบร่วมกัน ได้แก่ ระเบียบ สำนักนายกว่าด้วยการพัสดุ ระเบียบว่าด้วยการเบิก จ่ายเงิน ฯลฯ

วิธีวิเคราะห์ FTE กลุ่มภารกิจอำนวยการ 1. ตามปริมาณงาน ได้แก่ งานบริหารทั่วไป เช่น สารบรรณ ปชส. เลขาฯ งานนิติกร งานเจ้าหน้าที่ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานซ่อมบำรุง งานแผนและศูนย์คอมพิวเตอร์

ตัวอย่างแบบเก็บข้อมูลงานสารบรรณ รพ.ก นาที/งาน ปริมาณงาน ต่อปี เวลาทั้งหมดต่อปี(นาที) FTE งานสารบรรณ   1. รับและเวียนหนังสือราชการ 8 20,229 161,832 1.61 2. ส่งและออกเลขหนังสือราชการ 7 59,671 417,697 4.14 3. ร่าง/พิมพ์หนังสือราชการ 30 33,934 1,018,020 10.10 4. เก็บรักษาหนังสือราชการ 10 16,967 169,670 1.68 5. ทำลายหนังสือราชการ 840 1 0.01 รวม 17.54

ตัวอย่างแบบเก็บข้อมูลงานซ่อมบำรุงรักษา รพ.ก นาที/งาน ปริมาณงาน/ปี อัตรากำลังคน(FTE) 1. งานบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์ 120 2,132 2.54 2.การสอบเทียบเครื่องมือ 60 920 0.55 3. งานบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ/พัดลม 3,244 3.86 4. งานบำรุงรักษาเครื่องกำเนิดไฟฟ้า 1,460 0.87 5. งานบำรุงรักษาระบบลิฟท์ 832 0.50 6. งานบำรุงรักษาระบบประปา 1,562 1.86 7. งานบำรุงรักษาอาคาร 2,208 2.63 8. งานบำรุงระบบโทรศัพท์ 104 0.12 9. งานบำรุงสัญญาณเพลิงไหม้ 208 0.25 10. งานบำรุงรักษาระบบจ่ายแก๊สทางการแพทย์ 468 0.28 11. งานบำรุงรักษาระบบอัดอากาศทางการแพทย์ 572 0.68 12. ดูแลบำรุงรักษาเครื่องกำเนิดไอน้ำ 260 0.15 13. งานบำรุงระบบอิเล็กทรอนิกส์ 180 1,924 3.44 รวม   17.72

วิธีวิเคราะห์ FTE กลุ่มภารกิจอำนวยการ 2. ตามลักษณะงานเฉพาะ รักษาความปลอดภัย (FTE /จุดตรวจ หลักต่อเวร) งานซักฟอก (FTE / เตียง) FTE งานจัดเก็บขยะ ติดเชื้อ (FTE / น้ำหนักขยะ) งานจัดเก็บขยะ ทั่วไป (FTE / จุดพักขยะ)

งานแผนงานและศูนย์คอมฯ ตัวอย่าง จำนวนเตียง Active ชื่อโรงพยาบาล รวมบริหาร งานการเจ้าหน้าที่ งานการเงิน/บัญชี งานพัสดุ งาน ซ่อมบำรุง งานแผนงานและศูนย์คอมฯ   ควรมี กรอบ 887 รพ.พุทธชินราช 201.17 19.74 73.49 39.98 31.81 18.49 885 รพ.อุดรธานี 104.99 16.01 57.60 31.94 46.68 17.71 810 รพ.สุราษร์ฯ 148.96 13.94 54.23 39.59 50.10 18.48 795 รพ.หาดใหญ่ 147.87 17.97 89.47 39.16 64.56 12.33 771 รพ.ชลบุรี 206.29 19.85 61.37 35.10 55.74 19.33 761 รพ.เชียงราย 171.86 19.98 70.08 45.89 43.21 16.31 749 รพ.บุรีรัมย์ 127.44 15.77 35.23 49.92 35.00 12.92 743 รพ.สระบุรี 115.90 13.01 42.31 24.75 37.54 18.79 Avg 153 17 60 38 46

ชื่อหน่วยบริการสุขภาพ งานแผนงานและศูนย์คอมฯ ตัวอย่าง   ชื่อหน่วยบริการสุขภาพ รวมบริหาร งานการเจ้าหน้าที่ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ ซ่อมบำรุง งานแผนงานและศูนย์คอมฯ S เตียง ควรมี กรอบ 1 รพ.มหาสารคาม 347 102.04 13.91 35.43 21.77 16.95 17.02 2 รพ.กำแพงเพชร 410 91.66 11.89 40.42 15.32 27.00 8.98 3 รพ.สงขลา 508 89.93 15.11 60.00 28.38 23.25 13.22 4 รพ.พระนารายณ์ 505 88.73 8.78 28.47 20.41 29.29 8.25 5 รพ.พิจิตร 342 104.31 15 33.79 19.89 18 13.74 6 รพ.พะเยา 360 77.28 14.04 27.79 11.83 24 9.5 Avg 93 13 32 20 23 11

กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ ผลการวิเคราะห์ กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ

กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน ลำ ดับ เตียงActiveหน่วยบริการสุขภาพ รวมบริหาร   งานการ เจ้าหน้าที่ งานการเงิน/บัญชี งานพัสดุ งาน ซ่อมบำรุง งานแผนงานและศูนย์คอมฯ งานสวน /ความสะอาด รวม ควรมี กรอบ A /a > 1000 177 142 19 15 69 55 45 36 50 40 21 17 10 314 801 -1000 161 129 18 14 63 41 33 288 701 - 800 145 116 57 37 30 32 260 601 - 700 131 105 16 13 26 12 236 < 600 93 43 34 29 23 27 11 210 หมายเหตุ 1.กรอบคิด 80 % ของที่ควรมี 2. กรอบ = กรอบอัตรากำลัง (ขรก.+พรก.+ลูกจ้างประจำ.+พกส.)

กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน ลำดับ เตียงActiveหน่วยบริการสุขภาพ รวมบริหาร   งานการเจ้าหน้าที่ งานการเงิน/บัญชี งานพัสดุ งาน ซ่อมบำรุง งานแผนงานและศูนย์ คอมฯ งานสวน /ความสะอาด รวม ควรมี กรอบ S/M/F > 400 100 80 14 12 37 30 23 18 28 22 13 10 8 180 301- 400 85 68 24 19 11 9 152 201-300 70 56 21 17 127 121-200 55 44 6 20 16 102 91 -120 42 34 5 76 61-90 3 2 4 7 49 ≤60 25 - 33 หมายเหตุ 1.กรอบอัตรากำลังเท่ากับ 80 % ของที่ควรมี 2. กรอบ = กรอบอัตรากำลัง (ขรก.+พรก.+ลูกจ้างประจำ.+พกส.) 3. “–” หมายถึง รวมกับบริหาร

A/a S/M/F

ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา กลุ่มสนับสนุนบริการ ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา

กำลังคนในกลุ่มนี้ประกอบด้วย * ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา * กำลังคนสนับสนุนบริการ ได้แก่ บุคลากรที่ทำงาน สนับสนุนกลุ่มวิชาชีพในการให้บริการโดยตรง

วิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา ใช้มาตรฐานของ สบ พช แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม L M S ขนาดใหญ่ ดูแลนักศึกษา 120-180 คน ขนาดเล็ก ดูแลนักศึกษา 36-87 คน ขนาดกลาง ดูแลนักศึกษา 90-117 คน วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของบุคลากรแต่ละระดับ L S M ขนาดใหญ่ 50 คน กรอบ = 40 ขนาดกลาง 30 คน กรอบ = 24 ขนาดเล็ก 20 คน กรอบ = 16

วิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:กลุ่มสนับสนุนบริการ จัดกลุ่มสนับสนุนบริการจำนวน 42 สายงาน กับวิชาชีพหลัก 11 วิชาชีพ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม 1 จำนวนวิชาชีพมากกว่ากลุ่ม สนับสนุน ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร เทคนิคการแพทย์ ทันต แพทย์ นวก สาธารณสุข นักรังสีเทคนิค นักกายภาพบำบัด จพ. เวชสถิติ กลุ่ม 2 จำนวนวิชาชีพน้อยกว่ากลุ่ม สนับสนุน ได้แก่ นักโภชนาการ นักกายอุปกรณ์ แพทย์แผนไทย - วิเคราะห์สัดส่วนของวิชาชีพและบุคลากรสนับสนุนในแต่ละระดับสถานบริการ โดยใช้เวทีผู้ทรงคุณวุฒิ - วิเคราะห์กรอบของบุคลากรแต่ละระดับ

กลุ่ม 1 กำลังคนสนับสนุนบริการ รพ ระดับ A สายงานหลัก สายงานสนับสนุน % พยาบาลวิชาชีพ พนักงานช่วยการพยาบาล พนักงานช่วยเหลือคนไข้ ผู้ช่วยพยาบาล พนักงานช่วยเหลือแพทย์และพยาบาล พนักงานห้องผ่าตัด พนักงานหอผู้ป่วย พนักงานห้องเฝือก พนักงานประจำห้อง พนักงานเปล พนักงานประจำตึก พนักงานสถานที่ ล่ามภาษาต่างประเทศ X % นักกายภาพบำบัด ผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด พนักงานกายภาพบำบัด พนักงานอาชีวบำบัด y% เจ้าพนักงานเวชสถิติ พนักงานบัตรรายงานโรค z%

สายงานหลัก สายงานสนับสนุน สัดส่วน ทันตแพทย์ ผู้ช่วยทันตแพทย์ ช่างทันตกรรม % เภสัชกร พนักงานเภสัชกรรม พนักงานประจำห้องยา ผู้ช่วยเภสัชกร นักวิชาการสาธารณสุข ผู้ช่วยพนักงานสุขศึกษา ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่อนามัย ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พนักงานปฏิบัติการควบคุมพาหะนำโรค พนักงานระบาดวิทยา พนักงานสุขภาพชุมชน พนักงานเยี่ยมบ้าน นักรังสีการแพทย์ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค เจ้าหน้าที่เอ็กซเรย์ นักเทคนิคการแพทย์ พนักงานวิทยาศาสตร์ พนักงานประจำห้องทดลอง พนักงานห้องปฏิบัติการ พนักงานจุลทัศนากร พนักงานปฏิบัติการชันสูตรโรค เฉลี่ย

กลุ่ม 2 คิดสัดส่วนต่อวิชาชีพ รพ A สายงานหลัก สายงานสนับสนุน สัดส่วน นักโภชนาการ พนักงานประกอบอาหาร เจ้าหน้าที่แนะแนวด้านโภชนาการ 1:X แพทย์แผนไทย ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย พนักงานแพทย์แผนไทย นักกายอุปกรณ์ ช่างเครื่องช่วยคนพิการ ช่างกายอุปกรณ์ เฉลี่ย

ผลการวิเคราะห์อัตรากำลัง สัดส่วนกำลังคนสายสนับสนุน และกลุ่มวิชาชีพของกลุ่มที่ 1 และกลุ่ม 2 ระดับ กลุ่ม 1 (8 สายวิชาชีพ) กลุ่ม 2 (3 สายวิชาชีพ) (% ของที่ควรมี) สัดส่วนต่อวิชาชีพ 1 คน A 60% 1 ต่อ 4 A เล็ก 50% S 45% S เล็ก 1 ต่อ 3

สัดส่วนกำลังคนสายสนับสนุน และกลุ่มวิชาชีพของกลุ่มที่ 1 และกลุ่ม 2 และกลุ่มวิชาชีพของกลุ่มที่ 1 และกลุ่ม 2 ระดับ กลุ่ม 1 (8 สายวิชาชีพ) กลุ่ม 2 (3 สายวิชาชีพ) (% ของที่ควรมี) สัดส่วนต่อวิชาชีพ 1 คน M1 40% 1 ต่อ 3 M2 35% F1 F2 30% F3

208 2 53 รพก ขนาด A มีจำนวนเตียง Active 815 เตียง มีศูนย์แพทย์ศาสตร์ดูแลนักศึกษาแพทย์ 85 คน จำนวน FTE 8 วิชาชีพ = 1000 FTE, 3 วิชาชีพ = 15 FTE ประเภท กรอบ กำลังคนที่มี พกส ขรก พก ลป อำนวยการ 288 20 10 50 208 ศูนย์แพทย์ฯ 16 5 4 2 กลุ่ม1 600 กลุ่ม2 60 53

40 % ของบุคลากรสายวิชาชีพ กรอบอัตรากำลังสายสนับสนุนของ รพสต. 40 % ของบุคลากรสายวิชาชีพ

ขอขอบพระคุณ