การประเมินคุณภาพ AGM ของบริษัทจดทะเบียน
ที่มา CG-ROSC (กันยายน 2548) : ไทยได้รับคะแนนน้อยจากการประเมินในเรื่อง “ สิทธิของผู้ถือหุ้น ” การพัฒนาเพื่อยกระดับสิทธิของผู้ถือหุ้นไทยนั้น มีหลายเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการจัด AGM ของบริษัท เช่น - การเผยแพร่ข้อมูลในหนังสือนัดประชุมล่วงหน้าก่อนวัน ประชุมผ่านเว็บไซต์บริษัท - การมีช่องทางให้ผู้ถือหุ้นได้เสนอเพิ่มวาระการประชุม - การอำนวยความสะดวกในการใช้สิทธิออกเสียง
ที่มา (ต่อ) Joint project : ก.ล.ต. ร่วมกับสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย และ สมาคมบริษัทจดทะเบียน ริเริ่มโครงการประเมินคุณภาพ AGM ของบริษัทจดทะเบียนขึ้น ซึ่งจะเริ่มดำเนินการตั้งแต่ AGM ประจำปี 2549 เพื่อรณรงค์ให้บริษัทตระหนักถึงความสำคัญของการจัด ประชุม AGM และส่งเสริมให้มีการจัด AGM ที่คำนึงถึง สิทธิของผู้ถือหุ้นตามแนวทางบรรษัทภิบาลที่ดี
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ AGM ที่มา (ต่อ) หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ AGM Part A: ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น ควรให้ผู้ถือหุ้นได้รับข้อมูลที่เพียงพอและภายในเวลา ที่เหมาะสม รวมทั้งอำนวยความสะดวกในการใช้สิทธิ ออกเสียงให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วย ตนเองได้
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ AGM ที่มา (ต่อ) หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ AGM Part B: วันประชุมผู้ถือหุ้น ควรดำเนินการประชุมอย่างโปร่งใสและตรวจสอบได้ Part C: ภายหลังวันประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมควรมีสาระสำคัญ ครบถ้วน และเผยแพร่ให้ตรวจสอบได้
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ AGM ที่มา (ต่อ) หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ AGM Part D: Bonus points ในการปฏิบัติตามแนวทาง CG ที่ดี เช่น - ใช้วิธีการลงคะแนนเสียงแบบ cumulative voting ใน วาระการเลือกตั้งกรรมการ - การจัดให้มีตัวแทนของผู้ถือหุ้น ในการตรวจนับ คะแนนเสียงในที่ประชุม - การใช้ระบบ Barcode - การจัดให้มีการบันทึกภาพการประชุมและจัดเก็บ ไว้เพื่อให้บริการเผยแพร่แก่ผู้ถือหุ้นที่สนใจ
สิ่งที่ทำไปแล้ว จัดทำ AGM Checklist + ออกข่าว + เผยแพร่บนเว็บ จัดสัมมนาบริษัทจดทะเบียน (2 ก.พ. 2549) สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยส่งอาสาพิทักษ์สิทธิ์ เข้าร่วมประชุม AGM เพื่อให้คะแนน ส่งผลการประเมินให้ บจ. ก่อนเผยแพร่ผล
สรุปผลประเมิน: ข้อมูลพื้นฐานโครงการ บริษัทจดทะเบียนที่ได้รับการประเมิน AGM ปี 2549 จำนวน 433 แห่ง ได้แก่ บริษัทที่ ปิดงบการเงินประจำปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 เป็นบริษัทที่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มฟื้นฟูกิจการ (REHABCO) และไม่ได้ถูกเพิกถอน (DELIST) จากการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ
สรุปผลประเมิน จำนวนบริษัททั้งหมด 433 แห่ง จำนวนบริษัททั้งหมด 433 แห่ง คะแนน = 0 – 110 (100 + Bonus 10 คะแนน) Mean = 71 Max = 105 Mean of Part A = 25 จากคะแนนเต็ม 45 (55.55%) Mean of Part B = 38 จากคะแนนเต็ม 45 (84.44%) Mean of Part C = 7 จากคะแนนเต็ม 10 (70%) Mean of Part D = 1 จากคะแนนเต็ม 10 (10%)
สรุปผลประเมิน: Range ช่วงคะแนน จำนวนบริษัททั้งหมด (%) ≥ 90 56 13 % ≥ 90 56 13 % 80 - 89 71 16 % 70 - 79 98 23 % 60 - 69 100 < 59 108 25 % 433 100 % ช่วงคะแนน(นับสะสม) จำนวนบริษัททั้งหมด (%) ≥ 90 56 13 % ≥ 80 127 29 % ≥ 70 225 52 % ≥ 60 325 75 % ≥ 0 433 100 %
สรุปผลประเมิน: Compare Type จำนวนบริษัท Mean (คะแนน) จำนวนบริษัทที่ได้ ≥ 70 คะแนน SET50 46 86 38 (83%) SET100 89 83 75 (84%) SET 401 71 214 (53%) MAI 32 67 11(34%)
ค่าเฉลี่ยของแต่ละหมวดอุตสาหกรรม
บริษัทที่ได้รับคะแนนมากกว่า 100 คะแนน และสมควรเป็นตัวอย่างที่ดี มีจำนวน 3 บริษัท (เรียงตามลำดับอักษรชื่อย่อบริษัท) KBANK PTTEP SC ASSET
ข้อสังเกต ภาพรวมการจัด AGM อยู่ในระดับที่ “ ดี ” AGM เป็นเพียงส่วนหนึ่งของ CG เท่านั้น บจ.ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี + ให้ความสำคัญกับ การจัด AGM ที่ดี
การเตรียมการสำหรับ AGM ปี 2550 การสร้างความรู้ความเข้าใจ ปลายปี 2549 จัดทำ “คู่มือการจัด AGM ที่ดี ” Revised AGM checklist จัดสัมมนาให้ บจ. เร่งผลักดันให้ บจ. ปรับปรุงในส่วน “A” (ก่อนการประชุม)
www.sec.or.th