บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BUA 1105 กฎหมายธุรกิจ ๘ มกราคม ๒๕๕๖
Advertisements

ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส
How to promote the private repo markets in Thailand
สถาบันการเงิน.
ระบบงานที่สำคัญของตลาดหลักทรัพย์ฯ
การดำเนินการ เพื่อกำหนดเป็นมาตรฐานให้บริษัทจัดการสามารถดำเนินธุรกิจในการจัดการกองทุนของตนด้วยความโปร่งใส และคำนึงถึงประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสำคัญ สำนักงานได้ออกประกาศที่
รีทส์คืออะไร รีทส์ คือ กองทรัสต์ที่จัดตั้งขึ้น โดยมี
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
กินดีอยู่ดีด้วยสถาบันการเงิน
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
บทที่ 1 เป้าหมายและหน้าที่ในการบริหารการเงินเบื้องต้น.
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
การชี้แจงเกี่ยวกับการขอข้อมูลการเงินของ
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
กลุ่ม 2 ข้อ 4. ปัญหา สาเหตุ แนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไข
การเข้าร่วมประชุมกับ สหกรณ์ แชร์ล๊อตเตอรี่ สหกรณ์ออม ทรัพย์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สาเหตุ : สหกรณ์ออมทรัพย์มีสภาพ คล่องมาก.
1 ประกาศเรื่อง การลงทุนและ การมีไว้เพื่อเป็นทรัพย์สินของ กองทุน.
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
การเงิน.
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
ความซับซ้อน Complexity Index
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 7 เงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด (Cash and Marketable Securities Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
ลักษณะของระบบบัญชี.
งานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ผู้จัดทำ 1.นางสาวสุพรรษา ภูพวก เลขที่19 ม.4/4
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
“การเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการเงินในระบบสหกรณ์"
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
จะช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม ให้มีความอยู่ดี กินดี มีสุข อุดมการณ์สหกรณ์ อุดมการณ์สหกรณ์ คือ แนวความคิดที่เชื่อว่าหลักการและวิธีการสหกรณ์ จะช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม.
บทที่1 การบริหารการผลิต
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
Creative Accounting
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสหกรณ์ออมทรัพย์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน

ตลาดการเงิน ตลาดการเงิน (Financial Market) เป็นแหล่งกลางหรือสถาบันที่ให้บริการทางการเงิน แก่ผู้ที่ต้องการเงินทุนและผู้ที่ต้องการจะลงทุน หรือเป็นแหล่งรวมบุคคล 2 ฝ่ายคือ ผู้ให้กู้และผู้กู้ได้มาทำธุรกิจทางด้านการเงิน ตลาดของเงินทุนหรือตลาดการเงิน (Financial Market) แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือตลาดเงินและตลาดทุน

ตลาดเงิน ตลาดเงิน (Money Market) หมายถึงสถาบันหรือกลุ่มบุคคล ที่ดำเนินการต่างๆ เพื่อให้ผู้กู้ได้มาทำความตกลงกัน ในการซื้อขายเครดิตหรือหลักทรัพย์ระยะสั้น เช่น

ตลาดเงิน 1. ตั๋วเงินคลัง 2. ตั๋วสัญญาใช้เงินของกระทรวงคลัง 3. ใบรับรองหนี้หรือใบรับรองคลัง 4. ตั๋วแลกเงิน 5. เอกสารทางการเงินอื่น ๆ เช่น เอกสารทางการค้า

ตลาดทุน ตลาดทุน (Capital Market) คือบุคคลหรือสถาบันที่ดำเนินการเกี่ยวกับการกู้ยืมระยะยาว คือเครดิตที่มีกำหนดใช้คืนเกินกว่า 1 ปี เครื่องมือเครดิตระยะยาว เช่น หุ้นทุน พันธบัตร การกู้ยืมโดยมีจำนอง

ตลาดทุน ตลาดทุนแบ่งเป็น 2 ประเภท 1. ตลาดจำหน่ายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ (New Issue Market) 2. ตลาดจำหน่ายหลักทรัพย์เดิม (Secondary Market) แบ่งเป็น 2 ประเภท 2.1 ตลาดหลักทรัพย์แบบองค์การ (Organized Securities Market) 2.2 ตลาดหลักทรัพย์นอกองค์การ (Over the Counter Market)

ความสัมพันธ์ตลาดเงินกับตลาดทุน ตลาดเงินและตลาดทุนต่างก็เป็นแหล่งระดมเงินทุนให้แก่ธุรกิจ จะมีความแตกต่างกันด้านระยะเวลาในการจ่ายคืนเงินทุน แต่ตลาดทั้งสองยังมีความเกี่ยวข้องกันดังนี้ ก. ผู้กู้หรือผู้ใช้ ข. ผู้ให้กู้หรือเจ้าของเงินทุน ค. การไหลเวียนของเงินทุน ง. ความสะดวกในการใช้เงินทุน

แหล่งที่มาของเงินทุนและสถาบันการเงิน 1. แหล่งเงินในระบบ 2. แหล่งเงินนอกระบบ

แหล่งเงินในระบบ คือแหล่งเงินทุนที่ได้มาจากสถาบันทางการเงินต่าง ๆ ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย 1.1 สถาบันการเงินทั่วไป เป็นองค์กรดำเนินกิจการเกี่ยวกับการเงิน ให้ความร่วมมือในการจัดหาเงินทุนแก่ธุรกิจได้แก่ ธนาคาร 1.2 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ เช่น - ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย - สถาบันการเงินเพื่อการออมทรัพย์เช่น ธนาคารออมสิน - ตลาดหลักทรัพย์ - สถาบันการเงินอื่น เช่น สหกรณ์การเกษตร โรงรับจำนำ - หน่วยลงทุน เช่น บรรษัทหลักทรัพย์กองทุน

แหล่งเงินนอกระบบ เป็นแหล่งเงินทุนที่เกิดขึ้นเองตามความต้องการของสิ่งแวดล้อม ระเบียบกฎเกณฑ์ขึ้นกับความพอใจ ซึ่งตกลงระหว่างกันไม่เป็นไปตามครรลองของตัวบทกฎหมาย อาทิเช่น การเล่นแชร์ การกู้เงินจากแขก การกู้เงินจากนายทุน เป็นต้น

End บทที่ 7