Low-speed UAV Flight Control Phase II

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
COE : Microcat.
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย A Simplified Robot Controlling Software นายจักรี วิญญาณ นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
โปรแกรมจำลองการทำงาน
Low-Speed UAV Flight Control System
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
Low-speed UAV Flight Control Phase II
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
General Purpose Prepaid Payment System COE ระบบชำระค่าบริการ ด้วยบัตรเงินสด ผู้จัดทำ โครงการ นายธนิด นะทะศิริ รหัส นายพัฒนพงศ์ ศรีทวีกาศ.
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
COE Graphic Programming Language for PIC MCU โดย นาย ชาติชาย ดิลกลาภ นาย ธีระพงศ์ มุกดาพิพัฒน์กุล อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ.
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
PC Based Electrocardiograph
Measuring wheels Capable of trajectory mapping in 2-D plane
Low-speed UAV Flight Control System
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Substation Data Logger เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย
หมายเลขโครงการ : COE ผู้พัฒนาโครงการ : นางสาวนิรมล พันสีมา รหัส
Low-Speed UAV Flight Control System
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Wireless Sensor Network in Industrial Application
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
เครื่องวัดชีพจรแบบไร้สาย Wireless Heart Rate Monitor
Air Condition Efficiency Meter เครื่องวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
COE อาจารย์ที่ ปรึกษา โครงการ อาจารย์ที่ ปรึกษา โครงการ อ. ดร. วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ผู้ ร่วมประเมิน โครงการ อ. ดร. กิตติ์ เธียร ธโนปจัย อ.
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
โดย นางสาวมุทิตา พลอยน้อย นางสาววีรยา เจริญกุล
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
ไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมท
Agenda วัตถุประสงค์ การออกแบบระบบ การทดสอบ ประโยชน์ที่ได้รับ
COE PC Based Electrocardiograph
ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE Smart Bus Stop ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE Smart Bus Stop หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล เทคโนโลยี Zigbee เป็นการสื่อสาร.
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
Graphic Programming Language for PIC MCU
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายในโรงงานอุตสาหกรรม
PC Based Electrocardiograph
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
COE : Microcat. ผู้พัฒนาโครงการ นาย สราวุฒิ สมญาติ อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติ กูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วสุ เชาว์พานนท์ อ. ดารณี หอมดี
Graphic Programming Language for PIC MCU
COE : Microcat. ผู้พัฒนาโครงการ นาย สราวุฒิ สมญาติ อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติ กูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วสุ เชาว์พานนท์ อ. ดารณี หอมดี
Low-Speed UAV Flight Control System
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
(Global Positioning System)
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
หลักการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Low-speed UAV Flight Control Phase II COE 2009 - 02 Low-speed UAV Flight Control Phase II อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อ. วาธิส ลีลาภัทร อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. นวภัค เอื้ออนันต์ อ. วิชชา เฟื่องจันทร์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวีรภัทร์ เจริญผล รหัส: 493040174-8 นายกฤษฏิ์ สุดนักรบ รหัส: 493040417-8 1

หัวข้อที่นำเสนอ ที่มาของโครงการ วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ การดำเนินงานที่ผ่านมา การสร้างอุปกรณ์ การพัฒนาโปรแกรม ปัญหาและอุปสรรค สรุปผลโครงการ แนวทางการพัฒนาต่อ 2

ที่มาของโครงการ ระบบอากาศยานไร้คนขับ(UAV) เริ่มพัฒนาขึ้นมาใช้ในทางการทหาร ซึ่งในปัจจุบันระบบอากาศยานไร้คนขับได้ถูกพัฒนาให้มีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก เนื่องจากการพัฒนาให้เป็นระบบอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะเน้นไปที่การบังคับด้วยรีโมทคอนโทรล ดังนั้นเพื่อให้ระบบอากาศยานไร้คนขับมีทางเลือกในการสั่งการมากขึ้น ทางผู้พัฒนาโครงการจึงนำระบบ GPS เข้ามาช่วยในการควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ 3

วัตถุประสงค์ของโครงการ สร้างระบบควบคุมการเคลื่อนที่โดยใช้กับแบบจำลอง สร้างระบบที่ติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องรับสัญญาณ GPS กับระบบควบคุมการเคลื่อนที่ 4

ขอบเขตของโครงการ ระบบควบคุมจะใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ในการสั่งการการทำงานของระบบเคลื่อนที่ทั้งหมด โปรแกรมที่ใช้สำหรับระบบควบคุมการเคลื่อนที่จะใช้ได้กับระบบที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับแบบจำลองที่สร้างขึ้น 5

การดำเนินงานที่ผ่านมา สร้างแบบจำลองโดยมีลักษณะดังรูป

การดำเนินงานที่ผ่านมา(ต่อ) การออกแบบระบบควบคุมการเคลื่อนที่เพื่อใช้กับการควบคุมแบบจำลอง โดยกำหนดการใช้งาน port ต่างๆดังนี้ คำสั่งควบคุมการเคลื่อนที่ในแนวราบจะอยู่ในช่วง 4 บิตบน คำสั่งควบคุมการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งจะอยู่ในช่วง 4 ล่าง

การสร้างอุปกรณ์ วงจรระบบควบคุมมอเตอร์ - ควบคุมองศาการหมุนของ Servo motor - ควบคุมทิศทางการหมุนของ DC motor - ควบคุมความเร็วของ DC motor 6

การสร้างอุปกรณ์(ต่อ) วงจรระบบวิเคราะห์ข้อมูล GPS 9

การพัฒนาโปรแกรม ตัดข้อมูลทิศทางการเคลื่อนที่นัจจุบัน (Heading) มาจากข้อมูล course over ground ในชุดข้อมูล Tag GPRMC ของ GPS 14

การพัฒนาโปรแกรม(ต่อ) นำข้อมูลheading ไปลบกับทิศทางที่ควรจะเคลื่อนที่ไป แล้วนำค่าผลต่างที่ได้ไปเปรียบเทียบหาคำสั่งการเคลื่อนที่ในแนวระนาบ โดยใช้วิธีการดังภาพ 14

การพัฒนาโปรแกรม(ต่อ) รับข้อมูลความสูงที่ได้มาจาก Tag GPGGA ซึ่งเป็นโปรแกรมที่พัฒนาโดยโครงการ UAV Phase1 นำข้อมูลความสูงในปัจจุบันที่ได้ไปคำนวณผลต่างกับค่าความสูงกับจุดอ้างอิงแล้วนำไปสร้างเป็นคำสั่งการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง

การทดสอบ 14

ปัญหาและอุปสรรค microcontroller ที่ใช้รองรับการทำงานในระบบ 8 บิต การนำไปใช้กับข้อมูลที่มีขนาดใหญ่กว่า 8 บิต จะมีความยุ่งยากในการจัดการ อุปกรณ์ GPS จะยังไม่สามารถรับสัญญาณข้อมูลจากดาวเทียมได้ ในช่วงระยะเวลาที่เริ่มทำงานใหม่ ค่า course over ground ที่ได้จากข้อมูลใน tag GPRMC จะมีความผิดพลาดในกรณีที่อากาศยานหยุดอยู่กับที่ หรือถูกลมพัด 14

สรุปผลโครงการ การดำเนินโครงการได้ดำเนินตามแผนงานที่ได้วางไว้ คือ ศึกษารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ศึกษาการทำงาน ทดลองใช้งานอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ออกแบบและสร้างต้นแบบ พัฒนาโปรแกรม ทดสอบการทำงาน แก้ปัญหาที่พบของอุปกรณ์และโปรแกรม โดยโครงการนี้ได้ทำการศึกษา ออกแบบ และสร้างแบบจำลองของโครงสร้างการทำงานของอากาศยานไร้คนขับ 15

แนวทางการพัฒนาต่อ พัฒนาระบบควบคุมฉุกเฉินในกรณีที่ระบบอัตโนมัติทำงานล้มเหลว เพิ่ม Sensor อื่นๆเพื่อใช้ในการอ้างอิงความถูกต้อง พัฒนาแบบจำลองให้มีความแข็งแรงและสมดุลมากขึ้น พัฒนาโมดูลย่อยเพื่อใช้ประโยชน์เฉพาะทาง พัฒนาระบบให้ใช้ได้กับแบบจำลองอากาศยานในรูปแบบอื่นๆ พัฒนาระบบเชื่อมต่อข้อมูลทางไกล 16

Q & A 18