ฐานข้อมูล Nursing Resource Center โดย จุฑารัตน์ มาลาวิลาศ บรรณารักษ์ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ขอนำเสนอฐานข้อมูลที่น่าสนใจทางด้านพยาบาล คือ ฐานข้อมูล Nursing Resource Center เป็นฐานข้อมูลของ Gale Databases ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
เนื้อหาในการบรรยาย Nursing Resource Center คืออะไร หน้าจอหลัก ประกอบไปด้วยเมนูอะไรบ้าง วิธีการสืบค้นข้อมูลแบบ Basic Search, Subject Guide, Publication และAdvance search การจัดการผลลัพธ์ เนื้อหาที่จะบรรยาย ประกอบไปด้วย ฐานข้อมูล Nursing Resource Center คือฐานข้อมูลทางด้านใด ลักษณะเด่นของเนื้อหา วิธีการเข้าใช้ฐานข้อมูล หน้าจอหลัก ประกอบไปด้วยเมนูอะไรบ้างที่ช่วยในการจัดการผลลัพธ์ วิธีการสืบค้นข้อมูล การจัดการผลลัพธ์ที่ได้ รวมทั้งเมนูเสริมที่ช่วยในการจัดการผลลัพธ์ให้ตรงกับความต้องการมากที่สุดค่ะ
Nursing Resource Center ตำราเรียนทางด้านพยาบาลเหมาะสำหรับนักศึกษา วิชาพยาบาล เนื้อหาที่เป็นมัลติมีเดีย หนังสืออ้างอิงฉบับเต็ม มากกว่า 22 ชื่อเรื่อง ฐานข้อมูล Nursing Resource Center เป็นฐานข้อมูลที่ออกแบบเพื่อรองรับนักศึกษาวิชาพยาบาล เนื้อหาในฐานข้อมูลนี้ได้รวบรวมแผนการดูแลคนไข้ (Care plan) เนื้อหาที่เป็นมัลติมีเดีย ตำราเรียน และหนังสืออ้างอิงฉบับเต็มมากกว่า 22 ชื่อเรื่อง
วิธีการเข้าใช้ฐานข้อมูล ฐานข้อมูลนี้ให้บริการสืบค้นผ่านหน้าจอเว็บไซด์ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา โดยมีวิธีเข้าสืบค้นได้ 2 ช่องทางคือ หากอยู่ภายในมหาวิทยาลัยสามารถเข้าสืบค้นได้ทันทีที่ www.mfu.ac.th/center/lib 2. หากอยู่ภายนอกมหาวิทยาลัยโปรดติดตั้งระบบ SSL VPN ก่อนการเข้าใช้งาน โดยสามารถดาวน์โหลดคู่มือการติดตั้ง ระบบ SSL VPN จาก http://www.mfu.ac.th/center/lib/DB%20PPT/How%20to%20connect%20MFU%20internet%20from%20outside.pdf เมื่อเราทำความรู้จักกับฐานข้อมูลนี้อย่างคราวๆ แล้ว ต่อมาจะเข้าสู่วิธีการเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยฐานข้อมูลนี้ให้บริการสืบค้นผ่านหน้าจอเว็บไซด์ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา โดยมีวิธีเข้าสืบค้นได้ 2 ช่องทางคือ หากอยู่ภายในมหาวิทยาลัยสามารถเข้าสืบค้นได้ทันทีที่ www.mfu.ac.th/center/lib 2. หากอยู่ภายนอกมหาวิทยาลัยโปรดติดตั้งระบบ SSL VPN ก่อนการเข้าใช้งาน โดยสามารถดาวน์โหลดคู่มือการติดตั้ง ระบบ SSL VPN จาก http://www.mfu.ac.th/center/lib/DB%20PPT/How%20to%20connect%20MFU%20internet%20from%20outside.pdf กรณีมีข้อสงสัย หรือมีปัญหาในการติดตั้ง สามารถสอบถาม ฝ่ายระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ โทร. 053 - 916397 หรือ E-mail: network@mfu.ac.th
วิธีการเข้าใช้ฐานข้อมูล (ต่อ) www.mfu.ac.th/center/lib ช่องทางการเข้าใช้ 1 การเข้าสู่หน้าจอหลักของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาที่ www.mfu.ac.th/center/lib มีช่องทางในการเข้าฐานข้อมูล 2 ช่องทางดังนี้ ช่องทางแรกไปที่เมนูสืบค้น (Find) คลิกเลือกทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (eResources) ช่องทางที่สองไปที่เมนูการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (eResources) คลิกเลือก Online Database ช่องทางการเข้าใช้ 2
วิธีการเข้าใช้ฐานข้อมูล (ต่อ) เมื่อเข้าสู่หน้าจอของ Online Database คลิกเลือก Nursing Resources Center ทั้งนี้จะมีคำอธิบายเกี่ยวกับฐานข้อมูลอย่างคราว ๆ รวมทั้งวิธีการใช้ฐานข้อมูลนี้ที่เป็น Powerpoint ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดฐานข้อมูล Nursing Resource ได้
วิธีการเข้าใช้ฐานข้อมูล (ต่อ) จะเข้าสู่หน้าจอของ Gale Database และฐานข้อมูลทั้งหมดของ Gale ที่เราสมัครเป็นสมาชิก มีช่องสำหรับการสืบค้นของฐานข้อมูลทั้งหมดของ Gale แต่ตอนนี้เราคลิกเลือกเฉพาะฐานข้อมูล Nursing Resource Center
หน้าจอหลัก 1 2 หน้าจอหลักจะแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้ Library bar แสดงตำแหน่งการ Log in ในชื่อของ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สามารถกลับไปยังหน้าจอหลักของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาได้โดยการคลิกที่ Return to library Title bar แสดงเมนูต่าง ๆ ที่ดังนี้ Preference เป็นเมนูที่ช่วยในการตั้งค่าหน้าจอของการแสดงผลที่ต้องการให้แสดงผลลัพธ์เท่าไรต่อ 1หน้า ภาษาของเมนูที่เลือกได้ 4 ภาษาคือ ภาษาอังกฤษ ภาษาสเปน ภาษาฝรั่งเศส และภาษาโปตุเกต การไฮไลน์ที่ค้นในบทความ Change Database เป็นการเปลี่ยน ฐานข้อมูลอื่น ๆของ Gale Logout การออกจากฐานข้อมูลNursing Resource Center ขนาดตัวอักษรที่สามารถขยายขนาดได้ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่
หน้าจอหลัก InfoMark : แสดงรายละเอียดของ URL ของฐานข้อมูลที่สามารถคัดลอก Save ไว้ใน My Favarite 3 3. Toolbar เป็นเมนูของเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการข้อมูล มีเมนูต่าง ๆ ดังนี้ - InfoMark แสดงรายละเอียดของ URL ของฐานข้อมูลที่สามารถคัดลอก Save ไว้ ใน My Favarite และส่งอีเมล์ได้
หน้าจอหลัก เมนูในการ Print / E-mail / download 3 เมนูในการ Printในรูปแบบ HTML, การส่ง E-mail ที่สามารถเลือกรูปแบบการส่งได้ เช่น HTML Plaint text รวมถึงการนำออกของรายการอ้างอิงในรูปแบบ MLA Plaint text หรือ APA, การ Download ที่เลือกได้ 2 แบบคือ HTML และ Plaint text
หน้าจอหลัก (ต่อ) Marked Items คือ การเก็บบทความที่เลือกไว้ในข้อมูลส่วนตัว 3 Marked Items คือ การเก็บบทความที่เลือกไว้ในข้อมูลส่วนตัว สามารถนำออกรายการอ้างอิงผ่านโปรแกรม เช่น Endnote, Refwork เป็นต้น โดยการคลิกเลือกที่ How to Cite Marked Items รวมทั้งการลบทิ้งออกจากข้อมูลส่วนตัวได้
หน้าจอหลัก (ต่อ) Previous Search การย้อนกลับไปดูข้อมูลเดิมที่ได้ทำการสืบค้น Previous Search การย้อนกลับไปดูข้อมูลเดิมที่ได้ทำการสืบค้น และแก้ไขคำค้นได้โดยคลิกที่ Revise เมื่อไม่ต้องการบันทึกไว้ใน Previous Search สามารถลบได้โดยคลิกเลือก Clear
หน้าจอหลัก (ต่อ) Nursing. . . ToolBox ให้ข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับทางด้านพยาบาล Nursing. . . ToolBox Page Links ให้ข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับทางด้านพยาบาล เช่น การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น (Advanced Life Support Assist Skills (Appendix C)) ซึ่งอยู่ในภาคผนวก C ท้ายบทความมีรายการอ้างอิงด้วย
หน้าจอหลัก (ต่อ) NIC การจำแนกกิจกรรมทางการพยาบาล Nursing Interventions Classifications (NIC) คือ การจำแนกกิจกรรมทางการพยาบาล (กิจกรรมทางการพยาบาล หมายถึง ภาษามาตรฐานที่อธิบายวิธีการดูแลที่พยาบาลกระทำในแหล่งให้บริการสุขภาพ ทุกแหล่ง และทุกสาขาของการพยาบาลเฉพาะทาง ทั้งกิจกรรมที่พยาบาลกระทำตามบทบาทอิสระและตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ)
หน้าจอหลัก (ต่อ) NOC การจำแนกผลลัพธ์ทางการพยาบาล Nursing Outcomes Classifications (NOC) คือ การจำแนกผลลัพธ์ทางการพยาบาล (การจำแนกผลลัพธ์ทางการพยาบาล คือ ภาษามาตรฐานที่อธิบายผลลัพธ์ของผู้ป่วยที่ไวต่อการตอบสนองกิจกรรมพยาบาลที่ให้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวที่ให้การดูแลผู้ป่วย) เป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากกิจกรรมทางการพยาบาล (NIC)
หน้าจอหลัก (ต่อ) NANDA (Nursing Diagnosis) คือ ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงและปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้นทางการพยาบาล NANDA (Nursing Diagnosis) คือ ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงและปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้นทางการพยาบาล ซึ่งเป็นคำบัญญัติขึ้นและแก้ไขตั่งแต่ปี 2007-2008 โดยเรียงลำดับตามตัวอักษรพร้อมทั้งคำจำกัดความสั้น ๆ
หน้าจอหลัก (ต่อ) Title List รวบรวมรายชื่อของฐานข้อมูลทุกฐานของ CENGAGE 3 Title List รวบรวมรายชื่อของฐานข้อมูลทุกฐานของ CENGAGE ให้รายละเอียดเกี่ยวกับประเภทของฐานข้อมูลว่าเป็นฐานข้อมูลวารสาร หนังสือพิมพ์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือหนังสืออ้างอิง พร้อมทั้งรายชื่อของสิ่งพิมพ์ที่อยู่ในแต่ละฐานข้อมูลในรูปแบบ Excel, Word
หน้าจอหลัก (ต่อ) Help เมนูที่เป็นคู่มือในการใช้ฐานข้อมูล Nursing Resource Center Help เมนูที่เป็นคู่มือในการใช้ฐานข้อมูล Nursing Resource Center ให้รายละเอียดเกี่ยวกับ ข้อมูลพื้นฐานวิธีการเข้าใช้ วิธีการสืบค้น การจัดการผลลัพธ์ คำถามที่ถูกถามบ่อยของฐานข้อมูล Nursing Resource Center
วิธีการสืบค้นข้อมูล 1 วิธีการสืบค้นข้อมูล มีทั้งหมดอยู่ 4 แบบด้วยกันดังนี้ 1. การสืบค้นข้อมูลแบบ Basic Search เป็นการสืบค้นข้อมูลอย่างง่าย โดยเลือกจำกัดการค้นในส่วนของหัวเรื่อง (Subject) คำสำคัญ (Keyword) และทุกส่วนของเอกสาร (Entire doucument) พร้อมทั้งจำกัดผลลัพธ์เฉพาะเอกสารฉบับเต็ม (Full text) และ/หรือ เอกสารที่ผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ (peer reviewed publications) จากตัวอย่างใช้คำค้น Cancer จำกัดการค้นเฉพาะ Keyword ผลลัพธ์ที่ได้จะมาก
วิธีการสืบค้นข้อมูล (ต่อ) การสืบค้นแบบหัวเรื่อง 2. วิธีการสืบค้นข้อมูลแบบ Subject Guide Search เป็นการสืบค้นจากหัวเรื่องสามารถจำกัดผลลัพธ์เฉพาะเอกสารฉบับเต็ม (Full text) และ/หรือ เอกสารที่ผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ (peer reviewed publications) เลือกช่วงเวลาของเอกสาร รายชื่อของสิ่งพิมพ์ที่ต้องการค้น โดยสามารถดูรายชื่อสิ่งพิมพ์ทั้งหมดคลิกที่ Browse publication title และเลือกตามหัวเรื่องใหญ่ได้ (Publication subject area) ตัวอย่าง ใช้คำค้น Cancer ผลลัพธ์ที่ได้เรียงตามหัวเรื่อง และจะสังเกตเห็นคำว่า Subdivissions หมายถึง หัวเรื่องย่อยที่อยู่ภายใต้หัวเรื่องใหญ่คือ Cancer ซึ่งแยกตามหัวเรื่อง ตามประเทศ และช่วงเวลา และคำว่า Related subjects หมายถึง หัวเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคำว่า Cancerที่แยกเป็น หัวเรื่องที่แคบกว่า(Narrower terms) หัวเรื่องที่กว้างกว่า (Broader Terms) (Related Terms) ส่วนคำว่า See ท้ายหัวเรื่อง หมายถึง หัวเรื่องข้างบนยกเลิกไม่ใช้คำนี้แต่โยงให้ไปใช้อีกคำหนึ่ง
วิธีการสืบค้นข้อมูล (ต่อ) Publication search วิธีการสืบค้นข้อมูลจากรายชื่อของสิ่งพิมพ์ Publication search วิธีการสืบค้นข้อมูลจากรายชื่อของสิ่งพิมพ์ สามารถดูรายชื่อสิ่งพิมพ์ทั้งหมดโดยคลิกที่ List All จำกัดผลลัพธ์จาก ช่วงเวลา และหัวเรื่อง ตัวอย่างสืบค้นจากคำว่า Cancer ผลลัพธ์ที่ได้เรียงตามลำดับตัวอักษรของชื่อสิ่งพิมพ์ พร้อมทั้งรายละเอียดของสิ่งพิมพ์ คือ เลข ISSN/ISBN สำนักพิมพ์(Publisher) ปีที่(Issues Year) สิ่งพิมพ์นี้เหมาะสำหรับผู้ใช้ประเภทใด (Audence) รูปแบบของสิ่งพิมพ์ (Publication Format) รวมถึงกำหนดออกของสิ่งพิมพ์ (Full-text coverage)
วิธีการสืบค้นข้อมูล (ต่อ) Advance Search การสืบค้นขั้นสูง Advance Search สามารถจำกัดการสืบค้นจาก NOC NANDA NIC ชื่อเอกสาร (Document Title) ชื่อสิ่งพิมพ์ (Publication Title ) ชื่อผู้แต่ง (Author) หัวเรื่อง(Subject) ส่วนใดก็ได้ในเอกสาร (Entire Document) ชื่อสำนักพิมพ์(Publisher name) เลขISBN เลขISSN เลขปีที่(Volume number) เลขฉบับที่ (Issue number) สาระสังเขป(Abstract) และประวัติการสืบค้น (Previous searches) สามารถจำกัดผลลัพธ์จากเอกสารฉบับเต็ม (Full text) และ/หรือ เอกสารที่ผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ (peer reviewed publications) ชนิดของสิ่งพิมพ์ (Document type) สาขาวิชาของสิ่งพิมพ์ (Publication subject) และตามช่วงเวลา (Publication date)
การจัดการผลลัพธ์ แก้ไขผลลัพธ์ที่ได้ให้แคบลง การจัดการผลลัพธ์ ผลลัพธ์ที่ได้จะเรียงลำดับตามกระบวนการทางการพยาบาล (Nursing process) ดังนี้ ชื่อและลักษณะของเชื้อโรค(Diseases and condition) การประเมินผู้ป่วยก่อนเข้ารับการรักษา(Assessments) การวินิจฉัยโรคเบื้องต้น(Diagnostics) กิจกรรมทางการพยาบาล(Interventions) การให้ยา(Drugs) แผนการดูแลผู้ป่วย(Care plans) และเรียงลำดับตามรูปแบบของสิ่งพิมพ์ เช่น วารสาร สื่อมัลติมีเดีย และบทความต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง แก้ไขผลลัพธ์ที่ได้ให้แคบลงโดยใช้ เมนู Refine Results ซึ่งจะจำกัดผลลัพธ์จาก เอกสารที่มีรูปภาพประกอบ ช่วงเวลา ชื่อของสิ่งพิมพ์ ชื่อของสำนักพิมพ์ สาขาวิชาของสิ่งพิมพ์
การจัดการผลลัพธ์ (ต่อ) การเรียงลำดับของผลลัพธ์ การเรียงลำดับของผลลัพธ์สามารถเลือกตาม วันที่ของสิ่งพิมพ์ (Publication Date) ชื่อของบทความ (Document Title) ประเภทของบทความ (Document Type) และชื่อของสิ่งพิมพ์ (Publication Title)
การจัดการผลลัพธ์ (ต่อ) ส่วนเมนูทางด้านซ้ายมือมีมีเมนูที่น่าสนใจดังนี้ Quick Search เป็นเมนูที่ช่วยในการสืบค้นใหม่ โดยกรอกคำค้นใหม่ Subject Terms เป็นเมนูที่แสดงหัวเรื่องของคำที่ค้น ส่วนคำว่า See ท้ายหัวเรื่อง หมายถึง หัวเรื่องข้างบนยกเลิกไม่ใช้คำนี้แต่โยงให้ไปใช้อีกคำหนึ่ง
การจัดการผลลัพธ์ (ต่อ) การแสดงผลลัพธ์ 1. ชื่อบทความ 2. ชื่อผู้แต่ง 3. รายละเอียดของสิ่งพิมพ์ 4. การเรียงลำดับผลลัพธ์ การจัดการผลลัพธ์ (ต่อ) 1 2 4 ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงรายละเอียดดังนี้ ชื่อบทความ เมื่อคลิกที่ชื่อบทความจะแสดงเนื้อหาฉบับเต็ม (Full-text)แบบ HTML ชื่อผู้แต่ง รายละเอียดของสิ่งพิมพ์ เช่น ชื่อสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สำนักพิพม์ ปีที่พิมพ์ ลักษณะของผลลัพธ์ว่าได้จะเรียงลำดับตามกระบวนการทางการพยาบาล (Nursing process)แบบใด 3
การจัดการผลลัพธ์ (ต่อ) การเข้าดูฉบับเต็มในรูปแบบ HTML โยงไปถึงรายการอ้างอิงของบทความนี้ ใช้ฟังชั่น โปรแกรมแปลภาษา ใช้ฟังชั่น โปรแกรมแปลภาษา รูปแบบของการจัดการบทความ 3 แบบคือ -สัญลักษณ์รูปกระดาษแสดงถึงการเข้าดูข้อมูลฉบับเต็มในรูปแบบ HTMLธรรมดาและแบบที่มีรูปภาพประกอบ การเข้าดูเอกสารฉบับเต็มแบบ HTML มีรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้ โปรแกรมแปลภาษา 8 ภาษา คือ ภาษาสเปน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกต ภาษาจีน และภาษาเกาหลี Source Citation โยงไปถึงรายการอ้างอิงของบทความนี้ สามารถคัดลอกได้เลย
การจัดการผลลัพธ์ (ต่อ) แหล่งข้อมูลอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับบทความนี้ การอธิบายความหมายของคำสำคัญในบทความ ภายใต้ Table of Contents มีลิงค์อยู่แบบคือ Further Readings คือ แหล่งข้อมูลอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับบทความนี้ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ วารสาร ฐานข้อมูล หน่วยงาน และเว็บไซต์ Key Terms คือ การอธิบายความหมายของคำสำคัญในบทความ
การจัดการผลลัพธ์ (ต่อ) สามารถเข้าดูข้อมูลของปีเก่าได้ การนำออกรายการอ้างอิงในรูปแบบต่าง ๆ - สัญลักษณ์รูปแว่นขยายแสดงถึงรายละเอียดของสิ่งพิมพ์ซึ่งเป็นข้อมูลเดียวกับส่วนที่ 3 และสามารถเข้าดูข้อมูลของปีเก่าได้ - สัญลักษณ์รูปมือชี้ แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการนำออกรายการอ้างอิงในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ MLA, Plain text และ APA ผ่านทางโปรแกรมต่าง ๆ เช่น Endnote, Procite, Reference Manage, Refwork
เมนูเสริม Common Drugs A-Z ให้รายละเอียดเกี่ยวกับ คำอ่านของชื่อยา สารประกอบของยา วิธีการใช้ยา Common Diseases and Conditions A-Z ให้รายละเอียดเกี่ยวกับ คำจำกัดความ รายละเอียดของเชื้อโรค ฯลฯ เมนูเสริมตรงหน้าจอหลักของฐานข้อมูล - Common Drugs A-Z เมื่อคลิกชื่อยาจะให้ข้อมูลฉบับเต็ม ให้รายละเอียดเกี่ยวกับ คำอ่านของชื่อยา สารประกอบของยา วิธีการใช้ยา ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นหลังจากใช้ยา รวมถึงการเขียนรายการอ้างอิงของบทความนั้นด้วย - Common Diseases and Conditions A-Z เมื่อคลิกชื่อของเชื้อโรคจะให้ข้อมูลฉบับเต็ม ให้รายละเอียดเกี่ยวกับ คำจำกัดความ รายละเอียดของเชื้อโรค สาเหตุและอาการของโรค การวินิฉัย วิธีการรักษา
หากต้องการคำแนะนำการสืบค้นเพิ่มเติม โปรดติดต่อ บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า e-mail: library@mfu.ac.th Tel. 0 5391 6339, 0 5391 6345 หากผู้ใช้ หรือนักศึกษาท่านใดสนใจหรือมีคำถามต้องการคำแนะนำเพิ่มเติมสามารถติดต่อบรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้าตาม E-mail และเบอร์โทร. ที่ปรากฎใน Powerpoint ค่ะ