กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
โครงการ พัฒนาการจัดเก็บและค้นหาเอกสาร ส่วนบริหารกิจการจัตุรัสจามจุรี
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
ฝ่ายบริการจ่าย-รับ ศูนย์วิทยทรัพยากร
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
ถุงเงิน ถุงทอง.
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาลสำหรับนิสิตที่ทำกิจกรรมนอกสถานที่ กลุ่ม Firstaid.
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
การจัดส่งข้อมูลตราสารหนี้ โดยช่องทาง Internet หรือ DMS DA (Extranet)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
รายงานสถานภาพงบประมาณ
การรับรองหลักสูตร การรับรองค่าใช้จ่าย
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
พัฒนาการสื่อสารงานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
ขั้นตอนการเดินทางของเอกสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สาขาโรคมะเร็ง.
สรุปผลการสำรวจแบบสอบถาม ความพึงพอใจต่อกระบวนการติดตามและ ประเมินผลของการถ่ายทอด ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับ สป. ทส. ลงสู่ ระดับสำนัก / ศูนย์ / กลุ่ม (IPA)
ขั้นตอนการเดินทางของเอกสาร
โรงพยาบาลเลย. การประชุม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผล โครงการพัฒนาระบบ การจดทะเบียนการเกิด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ โครงการ “ลดขั้นตอนการให้บริการการ ต่อวีซ่าของนิสิตชาวต่างประเทศ ที่ศึกษาในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”

เป้าหมายและตัวชี้วัด ที่มาของโครงการ การให้บริการต่อวีซ่ามีความล่าช้า มีความเสี่ยงต่อการต่อวีซ่าไม่ทันกำหนด ส่งผลให้ไม่เป็นที่ประทับใจของผู้รับบริการ (นิสิตต่างชาติ) ตัวชี้วัด: 1. จำนวนขั้นตอนและระยะเวลาในการให้บริการ (ลดลงอย่างน้อย 30 %) 2. ร้อยละของจำนวนนิสิตต่างชาติที่ได้รับการต่อ วีซ่าก่อนวีซ่าหมดอายุ (100 %) 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของนิสิตต่างชาติ ต่อการให้บริการอยู่ในระดับดีและดีมาก (ไม่ต่ำกว่า 80 %) ขั้นตอนการให้บริการลดลงอย่างน้อย 30 % และมีระบบสารสนเทศแจ้งเตือนก่อนวีซ่า หมดอายุ เป้าประสงค์ นิสิตต่างชาติที่ศึกษาในจุฬาฯ ได้รับการต่อวีซ่าก่อนวีซ่าหมด อายุและมีความประทับใจต่อการ ให้บริการ

แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่า (VSM)ของกระบวนการให้บริการต่อวีซ่า START หนังสือตอบรับ เจ้าหน้าที่ร่างหนังสือ รองคณบดีฝ่ายวิเทศฯ ตรวจสอบ เสนอคณบดีลงนาม ส่งสารบรรณออกเลขที่ บันทึก เก็บสำเนาเข้าแฟ้ม กรอกแบบฟอร์มไปรษณีย์ (ส่งหนังสือแบบ Air-mail) ให้นักการไปส่งที่ ไปรษณีย์ (2 รอบต่อวัน) นิสิตติดต่อขอทำ VISA ในประเทศของ เขา นิสิตติดต่อร้องขอให้ ดำเนินการต่อ VISA P/T: 20 นาที P/T: 10 นาที 1 P/T: 5 นาที 5 P/T: ? P/T: 15 นาที FTQ: 90% FTQ: 95% วัน FTQ: 100% ชม FTQ: ? ติดตามบันทึก ส่งบันทึกพร้อม หลักฐานให้สำนักงาน วิรัชกิจ เจ้าหน้าที่ร่างบันทึกฯ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน พร้อมถ่ายสำเนา passport, VISA กรอกแบบฟอร์มร้อง ขอต่อ VISA 4 P/T: 7 นาที 1 วัน สำนักวิรัชกิจออก หนังสือรับรองนิสิตเพื่อ ต่อ VISA รับหนังสือจาก สำนักงานวิรัชกิจ เก็บสำเนาหนังสือจากสำนักงานวิรัชกิจ ติดต่อนิสิตเพื่อนัดหมาย การจองรถเพื่อพา นิสิตไป ตม. นิสิตนำไปดำเนินการ ต่อ VISA เดินทางกลับโดยสวัสดิ ภาพ เก็บสำเนา VISA ที่ต่อ แล้วของนิสิต บันทึกวันหมดอายุ VISA ในระบบ MIS P/T: 2-3 วัน P/T: 3 นาที P/T: 220 นาที FTQ: FTQ: 98% 1 วัน

ผลจากการวิเคราะห์ VSM (กำจัด waste & Delay) ก่อนทำ LEAN หลังทำ LEAN ลดไป ขั้นตอนการดำเนินการ 19 ขั้นตอน 8 ขั้นตอน 11 ขั้นตอน Process Time (P/T) = 4,725 นาที (78 ชั่วโมง 45 นาที) ~ 3 วัน = 275 นาที (4 ชั่วโมง 35 นาที) Waste: = 4,450 นาที คิดเป็น 94.18% 4,450 x100 4,725 Delays (D) = 3,360 นาที (56 ชั่วโมง) ~ 2 วัน = 0 นาที = 3,360 นาที คิดเป็น 100.00% 3,360 x100 3,360 **** สรุป ลดเวลาได้ทั้งหมด 96.60%*** 7,810*100 8,085 (130 ชม 10 นาที ~ 5 วัน) TAT = 8,085 นาที Waste = 7,810 นาที

แผนการปรับปรุง (Action Plan) & ผลดำเนินการ สาเหตุจากราก วิธีแก้ปัญหา ผลดำเนินการ 1.ไม่มีแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 1.1 จัดทำคู่มือ จะจัดทำคู่มือในโครงการปีงบประมาณ 55 1.2 จัดอบรมเจ้าหน้าที่ 1.มีการจัดอบรมการใช้งานระบบฐานข้อมูล MIS โดย สนง.วิรัชกิจ เมื่อ 24-25 พ.ค. 54 2.มีการบรรยายพิเศษ “การตรวจลงตรา” จาก เจ้าหน้าที่ ตม. เมื่อ 21 ก.ค. 54 โดย เครือข่ายฯ 1.3 มีระบบสารสนเทศติดตามและแจ้งเตือน มีระบบฐานข้อมูลด้านกิจการต่างประเทศ (MIS) แล้ว 2.ขั้นตอนการให้บริการมาก/ซ้ำซ้อน 2.1 ลดขั้นตอนจาก 19 เหลือ 8 ขั้นตอน ภายหลังการบรรยายพิเศษ “การตรวจลงตรา” 2.2 ให้บริการตามขั้นตอนใหม่ผ่านระบบฐานข้อมูล MIS ในการจัดทำหนังสือรับรองเพื่อต่อวีซ่าจาก สนง.วิรัชกิจ โดยให้คณะฯลงทะเบียนข้อมูลนิสิต สนง.วิรัชกิจ ตรวจสอบล่วงหน้าแจ้งรายชื่อไปยังคณะฯเพื่อยืนยัน และจัดทำหนังสือรับรอง จากเจ้าหน้าที่ ตม. เมื่อ 21 ก.ค. 54 สามารถ 1. ลดขั้นตอนได้อีกจาก 19 เหลือ 8 ขั้นตอน เนื่องจากมีข้อตกลงระหว่าง ตม. กับ สนง.วิรัชกิจ ว่ากรณีการต่อวีซ่าของนิสิตสามารถใช้หนังสือรับรองที่ออกจากคณบดีได้ โดยไม่ต้อง ผ่าน สนง.วิรัชกิจ ของมหาวิทยาลัย 3.ความไม่สะดวกในการติดต่อกับ สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) 3.1 กรณีที่มีนิสิตจำนวนมากขอต่อวีซ่า สนง.วิรัชกิจ ขออนุเคราะห์กับ ตม. เพื่อส่ง เจ้าหน้าที่มาให้บริการต่อวีซ่าที่ จุฬาฯ 2. ตม. ยินดีให้บริการต่อวีซ่าให้นิสิตที่จุฬาฯ แต่ต้องมีนิสิตอย่างน้อย 50 คน และสะดวกให้บริการในวันเสาร์ครึ่งวัน หากมีการร้องขอ

ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด ปัญหาและอุปสรรค ผลลัพธ์: (เบื้องต้น) 1. จำนวนขั้นตอนและระยะเวลาในการให้บริการ ผลลัพธ์: ขั้นตอนลดลง 57.89 % (ลด11 เหลือ 8 จาก 19 ขั้นตอนเดิม) ระยะเวลาลดลง 96.60 % (จาก 8,085 นาที เหลือ 275 นาที) 2. ร้อยละของจำนวนนิสิตต่างชาติที่ได้รับการต่อ วีซ่าก่อนวีซ่าหมดอายุ ผลลัพธ์: 100 % (จากนิสิต 196 คน) 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของนิสิต ต่างชาติต่อการให้บริการอยู่ในระดับดี และดีมาก (ไม่ต่ำกว่า 80 %) ผลลัพธ์: มากกว่า 80 % ปัญหาและอุปสรรค 1. การติดต่อประสานงานกับนิสิต ต่างชาติ 2.บุคลากรวิรัชกิจลาออกและเปลี่ยน แปลงบ่อย 3.การเก็บข้อมูลในทางปฏิบัติจริงใน ส่วนของระยะเวลาการให้บริการ และการประเมินความพึงพอใจ