แผ่นดินไหว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรขาคณิตสามมิติ และปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
Advertisements

สารชีวโมเลกุล : โปรตีน
Getting Started with e-Learning
(Vertical synchronization)
สื่อการสอน เรื่อง เวลาและการบันทึก
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ซากดึกดำบรรพ์ .
ชนิดของหินโดยประมาณ พบเป็น โดยรวมหินแปรไว้ในหินต้นกำเนิดเหล่านี้แล้ว
Word Press 3.X การอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้งานโปรแกรมเว็บสำเร็จรูป
E-Ruejang
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
แผนการบำรุงรักษาพัสดุ
สื่อการสอนกลุ่มสาระศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ เรื่อง พื้นฐานงานศิลป์
นายชูเกียรติ เมืองกรุง ครู โรงเรียนเทศบาล ๓ (หล่ายอิงราษฏร์บำรุง)
PC Based Electrocardiograph
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคนิคการสร้างแบบทดสอบ
การเพิ่มเติมผลงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ ในเว็บไซต์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
แผ่นดินไหว.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
Mahidol Witthayanusorn School
วีดิทัศน์กับสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
CONTENT IEEE-488 HPIB GPIB CAN U S B RS485 RS423 RS422 RS232 PROFIBUS.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Joomla Virtual Mart ดาวโหลดไฟล์ : \\geradt
ดอกไม้ที่ฉันสำรวจ ด.ช.คู่ฝัน พลังคิด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 28 มิถุนายน 2550 Get, Post, Session, Cookies มหาวิทยาลัยโยนก.
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 กรกฎาคม 2550 File Uploading & Shell มหาวิทยาลัยโยนก.
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 กรกฎาคม 2550 แฟ้มข้อความ (Text File) #2 มหาวิทยาลัยโยนก.
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 กรกฎาคม 2550 Cookie & Session มหาวิทยาลัยโยนก จังหวัด.
PHP Personal Home Page PHP Lesson in Update : August 23,2012.
Have Jobs Have Social Media Do Jobs Social Media My case study หลายท่าน เป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่ายสังคม ได้ใช้ประโยชน์ ตามความเหมาะสม ของแต่ละบริการ ขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช้
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
Google Earth กูเกิล เอิร์ธ (Google Earth) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาโดยบริษัทกูเกิล สำหรับการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือในโทรศัพท์มือถือ ดูภาพถ่ายทางอากาศพร้อมทั้งแผนที่
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง ขวดมหัศจรรย์พิชิตแมลงวัน
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
การต่อวงจรตัวต้านทาน
คือ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
3.6 ประโยชน์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
- เครื่องมือพัฒนา Web Design - CMS ยอดนิยม - Web Google Map Api
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
วิธีการรายงาน โปรแกรมระบบรายงานแปลงพยากรณ์ และเตือนการระบาดศัตรูพืช
Internet.
บริการแนะนำการผลิตตำรา งานวิจัยและการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
ศึกษาวิธีชีวิตการเลี้ยงปลา ริม 2 ฝั่งคลอง เครื่องมือจับปลาที่ เรียกว่า “ ยอ ”
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ ( Earth System Science :ESS)
ความหมายของการวิจารณ์
สมาชิก กลุ่ม 1. นางสาวพรพิรุณ ประจงค์ เลขที่ นางสาววราภรณ์ สี หนาจ เลขที่ นางสาวสุนิสา อบ มาลี เลขที่ 68.
ISP ในประเทศไทย
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
นำเสนอ อาจารย์คมกฤช มานิตกุล จัดทำโดย
Wiley Online Library. Wiley Online Library Wiley Online Library เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ รวบรวมวารสารมากกว่า 800 รายชื่อ ครอบคลุมสาขาวิชาทางด้าน.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา
หน่วยที่ 1 ติดต่อสื่อสาร ค้นหา ข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต.
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษามโนรมย์ 8 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง มาตรการที่ 1 มาตรการส่งเสริมความรู้และสนับสนุนปัจจัยการผลิตเพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน.
อำนาจหน้าที่ของศึกษาธิการจังหวัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผ่นดินไหว

แผ่นดินไหว ที่เกิดจากการสั่นสะเทือน ของพื้นดิน อันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงาน เพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลัน เพื่อปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงที่ ในรูปของคลื่นไหวสะเทือน สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้น จัดแบ่งได้ 2 ชนิด ชนิดที่หนึ่ง เกิดจาก การกระทำของมนุษย์ ได้แก่ การทดลองระเบิดปรมาณู การกักเก็บน้ำในเขื่อนและแรงระเบิดของการทำเหมืองแร่ เป็นต้น ชนิดที่สอง เป็นแผ่นดินไหวจากธรรมชาติ การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก อุกกาบาตขนาดใหญ่ตกลงพื้นโลก แผ่นดินถล่ม การยุบตัวของโพรงใต้ดิน

แผ่นดินไหว เกิดจากการสั่นสะเทือน ของพื้นดินอันเนื่องมาจากการปลดปล่อย แผ่นดินไหว เกิดจากการสั่นสะเทือน ของพื้นดินอันเนื่องมาจากการปลดปล่อย พลังงาน เพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลัน เพื่อปรับสมดุลของแผ่นเปลือกโลกให้คงที่ โดยปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่นไหวสะเทือน แผ่นดินไหวส่วนใหญ่ เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก  เมื่อชั้นหินกระทบกันทำเกิด คลื่นไหวสะเทือน (Seismic waves)  เราเรียกจุดกำเนิดของคลื่นไหวสะเทือนว่า "ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว" (Focus) และเรียกตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือจุดกำเนิดของคลื่นแผ่นดินไหวว่า "จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว" (Epicenter)​ เมื่อเกิดแผ่นดินไหวจะเกิดคลื่นไหวสะเทือน

"ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว " หมายถึง ตำแหน่งที่กำเนิดคลื่นแผ่นดินไหวใต้ผิวโลก และเป็นศูนย์กลางที่เกิดการปลดปล่อยพลังงานที่ ถูกกักเก็บไว้ในชั้นหิน ซึ่งเกิดขึ้นภายใน ชั้นเนื้อโลกส่วนของธรณีภาค “ จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ” คือจุดบนผิวโลก (ชั้นเปลือกโลก) ที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว

คลื่นไหวสะเทือน เป็นคลื่นที่ถ่ายทอดพลังงานผ่านภายในโลกความเร็วของ การกระจายของคลื่นมีความสัมพันธ์กับความหนาแน่น และความยืดหยุ่นของตัวกลาง เนื่องจากความหนาแน่นที่ เพิ่มสูงขึ้นในชั้นหินระดับลึก ความเร็วของคลื่นในชั้นหิน ลึกจึงมีแนวโน้มที่จะสูงกว่าความเร็วของคลื่นบริเวณผิวโลก คลื่นไหวสะเทือน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ คลื่นในตัวกลาง และ คลื่นพื้นผิว

1. ตัวกลาง (Body wave) เดินทางจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ผ่านเข้าไปในเนื้อโลกในทุกทิศทาง ในลักษณะเช่นเดียวกับคลื่นเสียงซึ่งเดินทางผ่านอากาศในทุกทิศทาง  คลื่นในตัวกลางมี 2 ชนิด ได้แก่ คลื่นใน คลื่นปฐมภูมิ (คลื่น P) คลื่นตามยาว คลื่นนี้สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เป็นคลื่นที่สถานีวัดแรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 7 กิโลเมตร/วินาที คลื่นทุติยภูมิ (คลื่น S) คลื่นตามคลื่นชนิดนี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น  ไม่สามารถเดินทางผ่านของเหลว คลื่นทุติยภูมิมีความเร็วประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร/วินาที  

คลื่นพื้นผิว (Surface wave) เดินทางจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Epicenter) ไปทางบนพื้นผิวโลกในลักษณะเดียวกับการโยนหินลงไปในน้ำแล้วเกิดระลอกคลื่นบนผิวน้ำ คลื่นพื้นผิวเคลื่อนที่ช้ากว่าคลื่นในตัวกลาง คลื่นพื้นผิวมี 2 ชนิด คือ คลื่นเลิฟ (L wave) และคลื่นเรย์ลี (R wave)

คลื่นเลิฟ (L wave) เป็นคลื่นที่ทำให้อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวราบ โดยมีทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น สามารถทำให้ถนนขาดหรือแม่น้ำเปลี่ยนทิศทางการไหล  คลื่นเรย์ลี (R wave) เป็นคลื่นที่ทำให้อนุภาคตัวกลางสั่น ม้วนตัวขึ้นลงเป็นรูปวงรี ในแนวดิ่ง โดยมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น  สามารถทำให้พื้นผิวแตกร้าว และเกิดเนินเขา ทำให้อาคารที่ปลูกอยู่ด้านบนเกิดความเสียหาย 

เครื่องมือที่ใช้บันทึกข้อมูลแผ่นดินไหวเรียกว่า ไซสโมกราฟ (seismograph) เครื่องมือนี้ประกอบด้วยเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนและแปลงสัญญาณคลื่นไหวสะเทือนเป็นสัญญาณไฟฟ้า จากนั้นสัญญาณไฟฟ้าจะถูกขยายแล้วแปลงกลับเป็นคลื่นไหวสะเทือนอีกครั้งเพื่อบันทึกลงกระดาษเป็นกราฟขึ้นลง

มาตราริกเตอร์ เป็นการวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหวได้จากการคำนวณปริมาณพลังงานที่ถูกปล่อยออกมาจากศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว โดยวัดจากความสูงของคลื่น (amplitude)

วัดจากความรู้สึกของคนร่วมกับการประเมินผล และความเสียหายของสิ่งปลูกสร้างที่เกิดขึ้นจากการเกิดแผ่นดินไหว

ภัยแผ่นดินไหวยังคงเป็นภัยธรรมชาติที่ยังไม่สามารถพยากรณ์ได้อย่างแม่นยำ แต่สามารถสังเกตพฤติกรรมของสัตว์หลายชนิดที่มีการรับรู้ถึงภัยก่อนเกิดแผ่นดินไหว เช่น -แมลงสาบจำนวนมากวิ่งเพ่นพ่าน - สุนัข เป็ด ไก่ หมู หมี ตื่นตกใจ - หนู งู วิ่งออกมาจากรู - ปลา กระโดดขึ้นจากผิวน้ำ

ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ วีดีโอเพิ่มเติม http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=2569 http://www.youtube.com/watch?v=W2SaVitk9cY http://www.youtube.com/watch?v=gALjDQzDl38 ความรู้เพิ่มเติม http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/earth-science/chapter1_3.html http://www.rmutphysics.com/CHARUD/specialnews/4/earthquake/index1.htm สื่อการเรียนรู้เพิ่มเติม ครูติ๊ก http://www.learnbytechno.com/