งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
วิทยาศาสตร์ (ว 40216) ฟิสิกส์ ม.6

2 คลื่น (waves) 1. คลื่น (waves) 2. สมบัติของคลื่น (property of waves)
3. คลื่นเสียง (sound waves) 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic)

3 1. คลื่น (waves)

4 ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและองค์ประกอบของคลื่นได้
2. จำแนกชนิดของคลื่นได้

5 1. คลื่น (waves) 1. คลื่นคืออะไร 2. ชนิดของคลื่น 3. องค์ประกอบของคลื่น
1. พิจารณาการสั่นของตัวกลาง 2. พิจารณาการใช้ตัวกลาง 3. พิจารณาการรบกวนตัวกลาง 3. องค์ประกอบของคลื่น

6 คลื่นคืออะไร คลื่น ( wave ) เป็นการเคลื่อนที่แบบหนึ่งเกิดจากการสั่นกลับไปกลับมาของอนุภาค และสามารถส่งผ่านพลังงานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งได้ ในระบบใดๆ ก็ตาม ในธรรมชาติเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงไปจากสภาวะสมดุล ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งในระบบอันเกิดจากการรบกวนอย่างใดอย่างหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงนั้นสามารถแพร่ขยายไปยังส่วนอื่นๆของระบบนี้ อาจเรียกการแพร่ขยายไปของการเปลี่ยนแปลงนี้ว่า คลื่น เช่น การใช้มือจุ่มน้ำในขัน ในตุ่ม ในสระ ในแม่น้ำลำคลอง หรือ ขว้างวัตถุลงไปในน้ำ เราจะมองเห็นผิวน้ำกระเพื่อม แล้วแผ่เป็นวงกลมออกไปโดยรอบซึ่งลักษณะนี้ว่า คลื่นน้ำเกิดขึ้นบนผิวน้ำ

7 http://www. chemistry. ohio-state

8 การสั่นของอนุภาคน้ำเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน

9 2. ชนิดของคลื่น 1. พิจารณาการสั่นของตัวกลาง 2. พิจารณาการใช้ตัวกลาง
1.1 คลื่นตามขวาง (Transverse waves) 1.2 คลื่นตามยาว (Longitudinal waves) 2. พิจารณาการใช้ตัวกลาง 2.1 คลื่นกล (Mechanical waves) 2.2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic waves) 3. พิจารณาการรบกวนตัวกลาง 3.1 คลื่นดล (Pulse waves) 3.2 คลื่นต่อเนื่อง (Continuous waves)

10 พิจารณาการสั่นของตัวกลาง

11 พิจารณาการสั่นของตัวกลาง

12 พิจารณาการสั่นของตัวกลาง

13 พิจารณาการสั่นของตัวกลาง

14 พิจารณาการใช้ตัวกลาง

15 พิจารณาการรบกวนตัวกลาง
คลื่นต่อเนื่อง คลื่นดล

16 องค์ประกอบของคลื่น จากรูป
1. สันคลื่น หมายถึง ตำแหน่งสูงสุดของคลื่นเหนือระดับปกติ เช่น จุด b 2. ท้องคลื่น หมายถึง ตำแหน่งต่ำสุดของคลื่นใต้ระดับปกติ เช่น จุด d 3. ความยาวคลื่น หมายถึง ระยะจากสันคลื่นถึงสันคลื่นถัดไป หรือ ระยะจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นถัดไป เขียนแทนด้วย แลมดา ( l ) มีหน่วยเป็น เมตร m 4. แอมพลิจูด หมายถึง ตำแหน่งที่มีการกระจัดมากที่สุด ทั้งอยู่บนสันคลื่นและท้องคลื่น เช่น จุด b และ d

17 องค์ประกอบของคลื่น จากรูป
1. สันคลื่น หมายถึง ตำแหน่งสูงสุดของคลื่นเหนือระดับปกติ เช่น จุด b 2. ท้องคลื่น หมายถึง ตำแหน่งต่ำสุดของคลื่นใต้ระดับปกติ เช่น จุด d 3. ความยาวคลื่น หมายถึง ระยะจากสันคลื่นถึงสันคลื่นถัดไป หรือ ระยะจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นถัดไป เขียนแทนด้วย แลมดา ( λ ) มีหน่วยเป็น เมตร m 4. การกระจัด หมายถึง ระยะจากระดับปกติถึงตำแหน่งต่างๆบนคลื่น เช่น จุด a b มีการกระจัดเป็น + จุด c d มีการกระจัดเป็น – 5. แอมพลิจูด หมายถึง ตำแหน่งที่มีการกระจัดมากที่สุด ทั้งอยู่บนสันคลื่นและท้องคลื่น เช่น จุด b และ d 6. ความถี่ หมายถึง จำนวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านจุด ๆ หนึ่ง / 1 หน่วยเวลา 7. คาบ หมายถึง ช่วงเวลาที่คลื่น 1 ลูก ผ่านจุด ๆ หนึ่ง 8. อัตราเร็วของคลื่น หมายถึง ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น เมตร ต่อ วินาที 9. หน้าคลื่น หมายถึง แนวของสันคลื่นหรือท้องคลื่น ซึ่งตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่นเสมอ 10. รังสีของคลื่น หมายถึง เส้นทางการเคลื่อนที่ของคลื่น

18 Measuring waves

19

20 แบบฝึกหัด 1. อัตราเร็วเสียงในอากาศ 340 m/s จงหาความยาวคลื่นเสียงในอากาศที่ความถี่ 20,000 Hz (0.017 m) 2. ส้อมเสียง A ความถี่ 450 Hz จะทำให้เกิดคลื่นเสียงในอากาศความยาวคลื่น 0.8 m ส้อมเสียง B ความถี่ 1,000 Hz จะเกิดคลื่นเสียงความยาวคลื่นเท่าใด (0.36 m)

21 References พูนศักดิ์ อินทวี และจำนง ฉายเชิด. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ : ฟิสิกส์ ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, หน้า.

22 Thank you Miss Lampoei Puangmalai Department of science
St. Louis College Chachoengsao


ดาวน์โหลด ppt หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google