CHIANG MAI: Back to the future

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชมรมครูคณิตศาสตร์อาชีวศึกษา วันที่ 2-5 เมษายน 2557
Advertisements

ดนตรีไทยวงเครื่องสายบนโทรศัพท์มือถือ Siam String Musical on Mobile
สรุปผลการดำเนินงานของ คณะทำงานฝ่ายวารสารและเอกสาร
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
คำอธิบายรายวิชา ระบบธุรกิจ วัฏจักรของการพัฒนาระบบงาน ระเบียบ วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ ผังงานระบบ ตารางและการตัดสินใจ การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนในการพัฒนา.
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
หมายเลขโครงการ : COE ผู้พัฒนาโครงการ : นางสาวนิรมล พันสีมา รหัส
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
การสร้างสื่อมัลติมีเดีย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
หนังสือไร้กระดาษ.
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (CAI)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction)
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การพัฒนาการให้บริการระบบสารสนเทศ งานทะเบียนผ่าน smart device
แบบฝึกหัด (drill and Practice)
การวางแผนและการดำเนินงาน
Creating Effective Web Pages
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
ฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
โครงการ นครพนม 1 ขั้นตอนที่ 3 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษาในชั้นเรียน.
สมาชิก 1.น.ส.ศรวณีย์ อินทร์วงศ์ เลขที่ 11
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
จักรวาลวิทยา ภูมิโหราศาสตร์ และผังเมืองกรุงเทพมหานคร
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
KMS Knowledge Management System
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
Operating system of Mobile and PC. Android เหตุผลที่ใช้ ระบบปฏิบัติการ android  1. มีความหลากหลายทั้งตัวเครื่องยี่ห้อ และ ราคา  2. สามารถมีอินเตอร์เฟส.
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
การเขียนรายงาน.
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ขั้นตอนในการผลิตรายการวีดิทัศน์
Development of E-Course on Photography by Digital Camera for Mahidol University Students โครงการพัฒนาอีคอร์ส รายวิชาการ ถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอล สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.
ADDIE Model.
 วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่ง ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความ คาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะ ทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบ.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การค้นหาสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CHIANG MAI: Back to the future โปรแกรมแนะนำเส้นทางการเดินและการปั่นจักรยานภายในคูเมืองเชียงใหม่โดยใช้ทิวทัศน์ในยุคล้านนาบนระบบแอนดรอยด์ CHIANG MAI: Back to the future โดย CAMT Simulation Lab College of Arts, media and technology, Chiang Mai university

หัวข้อในการนำเสนอ 1. ที่มาและความสำคัญ 2. ชนิดและประเภทของโปรแกรม 3. วัตถุประสงค์ 4. ขอบเขตในการพัฒนา 5. วิธีการในดำเนินงาน 6. การใช้งาน Application 7. การต่อยอด

ที่มาและความสำคัญ

ที่มาและความสำคัญ

ที่มาและความสำคัญ

ที่มาและความสำคัญ

ชนิดของโปรแกรม โลกเสมือน 3 มิติ, ลักษณะเป็นสื่อเสริม (Supplementary) หมายถึงการนำสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในลักษณะสื่อเสริม กล่าวคือ นอกจากเนื้อหาที่ปรากฏในลักษณะของสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์แล้วผู้เรียนยังสามารถศึกษาเนื้อหาเดียวกันนี้ในลักษณะอื่นๆ เช่น จากหนังสือ วิดีโอ ภาพถ่าย

วัตถุประสงค์ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์โลกสามมิติเสมือนจริงย้อนอดีตเมืองเชียงใหม่ สำหรับให้นักท่องเที่ยวหรือผู้สนใจได้ทราบถึงเมืองในอดีต ในลักษณะเป็นสื่อเสริม

ขอบเขต บริเวณภายในคูเมืองเชียงใหม่ ในส่วนของวัดพระสิงห์และวัดเจดีย์หลวงซึ่งเป็นวัดที่สำคัญของเมืองเชียงใหม่ *TripAdvisor วัดยอดนิยมในประเทศไทย ปี 2556 เชียงใหม่

ขั้นตอนการพัฒนา Pre-Production Production Post-Production การศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล (Research) การออกแบบสื่อ (Design)และสรุปเนื้อหา เลือกระบบปฏิบัติการ –> แอนดรอยด์ การสร้างสื่อต้นแบบ (Prototype) ระบบปัญญาประดิษฐ์ Production กราฟิกสำหรับผู้ใช้ (User Interface Design) แบบจำลองสามมิติ (Modeling and Color Texture) เสียง (Sound) ประกอบชิ้นส่วน (Combination) และทดสอบ (Testing) Post-Production จัดแสง สร้างเป็นโปรแกรมที่สมบูรณ์ เผยแพร่สู่สาธารณะ

*ขั้นตอนการพัฒนา Pre-Production การศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล (Research) หนังสือของรองศาสตราอาจารย์ สุรัสวดี ประยูรเสถียร หนังสือล้านนาโคโลเนียล เสน่ห์ จากวันวาน หนังสือเชียงใหม่ในความทรงจำ สัมภาษณ์พระในวัด สัมภาษณ์คนเก่าแก่ การออกแบบสื่อ (Design)และสรุปเนื้อหา Art Direction การสร้างสื่อต้นแบบ (Prototype) เพื่อวิเคราะห์การลื่นไหลในการแสดงผลในระบบแอนดรอยด์ ตามผังการไหลของโปรแกรม

ขั้นตอนการพัฒนา Production Production ขั้นตอนกระบวนการผลิต (Production) กราฟิกสำหรับผู้ใช้ (User Interface Design) ออกแบบไม่ให้รบกวนทิวทัศน์ ร่วมสมัย แบบจำลองสามมิติ (Modeling and Color Texture) เสียง (Sound) ประกอบชิ้นส่วน (Combination) และทดสอบ (Testing)

การใช้งาน Application การติดตั้งและเรียกใช้งาน ดาวน์โหลด/คัดลอก CM_back2future.apk ลงเครื่องแทปแล็ต ทัชที่ไฟล์ แล้วเลือกติดตั้ง เข้าไปยัง Application เลือก CMback2future

การใช้งาน Application

การต่อยอด เนื้อหาและขอบเขต วิธีการเล่น *เสียงบรรยายภาษาอังกฤษ เสียงบรรยายภาษาจีน ขยายขอบเขตของโลกเสมือน ระบบที่สนับสนุน วิธีการเล่น *ใช้จักรยานจริงในการปั่น ขั้นออกแบบวงจรไฟฟ้า

เอกสารอ้างอิง สุรัสวดี ประยูรเสถียร. “การปฏิรูปการปกครองมณฑลพายัพ พ.ศ.2436–2476”.มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2522. ชัยรัตน์ อัศวางกูร, ล้านนาโคโลเนียล เสน่ห์ จากวันวาน,สำนักพิมพ์ วิทอินบุ๊คส์, 2555 บุญเสริม สาตรถัย, เชียงใหม่ในความทรงจำ,Chao Bridge international Foundation, Mark Elsom-Cook, Priciple of Interactive Multimedia,Mc Graw Hill, 2001 Massimo Banzi, Getting Started with Arduino, O’REILL Thepparit Sinthamrongruk, Krisada Mahakitpaisarn and Wapee Manopiniwes, A Performance Comparison between A* Pathfinding and Waypoint Navigator Algorithm on Android and iOS Operating System, ICCEM 2013, Hongkong

ขอบคุณที่รับฟังการนำเสนอผลงาน