การจัดการเรียนการสอน Health Promotion and Palliative care Block : Health and Diseases From conception to adolescence.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
FPL: Family Practice Learning การฝึกปฏิบัติ โดยใช้ รพช. เป็นฐาน
ตัวอย่างการทำ และการเขียน PDCA ในเรื่องของการเรียน การสอน
Health Promotion/Prevention
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
สอนให้ศิษย์ เก่ง ดี มีสุข รศ.นพ.สุชาติ อารีมิตร.
การนำเสนอผลการฝึกปฏิบัติงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Teaching procedural skill
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
Department of Orthopaedic Surgery
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ E-learning
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
What is MEQ Workshop on “MEQ Examination for Preclinical Years”
การประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ ครั้งที่ 9/2551 วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม 2551 เวลา น. ณ ห้องประชุม 801 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
Table of specification
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
E-learning ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
Cancer in Thailand Cancer in Thailand 2003.
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
แผนพัฒนาฝ่ายการศึกษาระดับหลังปริญญา และการศึกษาต่อเนื่อง
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
โครงการ พัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาล หอผู้ป่วยพิเศษ 1
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการเรียนการสอน Health Promotion and Palliative care Block : Health and Diseases From conception to adolescence

Health Promotion (WHO) คือกระบวนการส่งเสริมให้ประชาชนมีบทบาทที่จะ empower ตัวเองและครอบครัว ให้มีความเข้มแข็ง ที่จะพึ่งตนเองได้มากขึ้น หลักการ 5 ประการได้แก่ 1. การเสริมสร้างอำนาจ (empowerment) 2. การมีส่วนร่วมของสาธารณะ 3. ให้ความสำคัญแก่ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม 4. การลดความไม่เท่าเทียมและไม่ยุติธรรมทางสังคม 5. การกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาคี

H&D: From conception to adolescence 388-551 Basic pediatric knowledge & Medical ethics 3 Credits 388-552 Clinical and technical skill 2 Credits 388-553 Clinical application 3 Credits

Course objectives-1 1. อธิบายลักษณะปกติของการเจริญเติบโต พัฒนาการตั้งแต่ระยะ ปฏิสนธิจนถึงวัยรุ่น 2. บอกปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเสริมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ 3. ประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาการได้อย่างเหมาะสม 4. บอกความผิดปกติที่เกิดขึ้นและแยกออกจากภาวะปกติได้อย่างถูกต้อง 5. บอกกลไกการเกิดโรคและภาวะผิดปกติที่พบบ่อย หลักการรักษา การฟื้นฟูสภาพการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคได้ถูกต้อง 6. เลือกใช้ยาได้อย่างสมเหตุผล 7. ระบุปัญหา วิเคราะห์ และให้แนวทางปฏิบัติเชิงเวชจริยศาสตร์

Course objectives-2 1. สังเกตอากัปกิริยาของผู้ป่วยได้ถูกต้อง 1. สังเกตอากัปกิริยาของผู้ป่วยได้ถูกต้อง 2. ซักประวัติและตรวจร่างกายผู้ป่วยเด็กวัยต่างๆ อย่างถูกต้องแม่นยำ 3. รวบรวมข้อมูลจากประวัติ ตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุปัญหาของผู้ป่วย 4. เลือกใช้การตรวจโดยใช้เครื่องมือต่างๆ โดยคำนึงถึงความคุ้มค่า 5. บันทึกเวชระเบียนอย่างถูกต้องเป็นระบบและต่อเนื่อง 6. นำเสนอรายงานและอภิปรายผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ 7. บอกข้อบ่งชี้ ข้อห้าม ภาวะแทรกซ้อนและขั้นตอนการทำหัตถการ 8. ทำหัตถการได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 9. ให้คำแนะนำและคำปรึกษาด้านสุขภาพเด็ก

Course objectives-3 1. ให้การดูแลรักษาโรคที่พบบ่อยได้อย่างเหมาะสม 1. ให้การดูแลรักษาโรคที่พบบ่อยได้อย่างเหมาะสม 2. ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม 3. นำความรู้ทางทฤษฎีมาประกอบการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วย 4. ให้บริการสุขภาพผู้ป่วยแบบองค์รวม

General Pediatrics Health supervision Growth and Development Behavior Nutrition Prevention Issues Unique to Adolescence Issues Unique to the Newborn Common acute pediatric illnesses Common chronic illness and disability Therapeutics Fluid and electrolyte management Accident and Poisoning Pediatric emergencies Child abuse and child advocacy Adapted from COMSEP curriculum

Health Promotion and Palliative care teaching Topic 5thyr 6thyr Resident Health promotion 2+ 2+ 2+ Patient perspective 2+ 2+ 2+ Principle of palliative care 2+ 2+ Common symptoms Mx 1+ 2+ Family support 1+ 2+ Ethical decision :end of life 1+ 2+ Communication skills 1+ 2+ Multidisciplinary teamwork 1+ 2+ Doctor’s role: 1+ 2+

Pediatric Clerkship Training Sites Songklanagarind Hospital Department of Pediatrics Department of Surgery Department of Psychiatry Hat-Yai Municipal Hospital

Learning methods 1. Clinical Experiences Direct patient care Newborn nursery (1 week) Inpatient pediatric ward ( 4 weeks) Ambulatory paediatric clinic (3 weeks) Daily patient rounds with faculty/residents Clinical skills/lab/medical record/ 2. Teaching round: faculty/residents 3. Didactic sessions (lecture) 4. Group study: case based learning 5. Team teaching 6. Department activities: MC/TC/JC/MM

Learning Methods 1. Ambulatory pediatric clinic (OPD) 3 weeks Direct patient care 1. Ambulatory pediatric clinic (OPD) 3 weeks - Hat-Yai hospital 1 wk – General pediatrics – Child psychiatry - University Hosp 2 wk – General pediatrics – Health supervision – Pediatric surgery 2. Inpatient pediatric ward 4 weeks - Hat-Yai Hospital 2 wk - University Hosp 2 wk 3. Newborn (nursery) 1 week

Evaluation Factual knowledge : MCQ, KF Problem solving : MEQ, KF, MCQ Technical skill : Check list, OSCE Interpersonal & communication skills: OSCE, Check list Professionalism : Check list, OSCE

Formative Evaluation Logbook: Daily Clinical Encounters Self-assessment: case study Learner-mentor Meetings : 3rd, 7th weeks 1 mentor : 1-2 learners

Summative Evaluation Multiple Choice Questions (MCQ) Key Feature test (KF test) Objective Structured Clinical Examination (OSCE) Clinical Performance :Direct observation; rating scale Medical Record

Table of Specifications: MCQ 1. แบ่งเนื้อหาตามหมวดหมู่ดังนี้ A. Health and health maintenance 20-25% B. Mechanism of diseases 15-20% C. Diagnosis 25-30% D. Management and treatment 35-40% 2. Taxonomy Recall: Application : 30: 70

Table of Specifications: MCQ Content A B C D Total Child health supervision and immunization 10 Growth and development 5 Nutrition 5 Accident poisoning 2 Fluid and electrolyte 3 Neonatology 5 Adolescent 2 Child abuse and child advocacy 2 Common pediatric illnesses average 70% (66) 9.1 Cardiovascular and collagen diseases 5 9.2 Hematology and oncology 8 9.3 Nephrology 6 9.4 Common infectious diseases 10 9.5 Common surgical problems 5 9.6 Neurology 8 9.7 Endocrinology, genetics, congenital malformation 3 9.8 Respiratory 8 9.9 Common child psychiatry and behavioral pediatrics 5 9.10 Gastroenterology 8 Total 25 15 25 35 100

Table of Specifications: KF test Infectious diseases and Immunization 4 Gastrointestinal 2 Nutrition 2 Allergy and Respiratory diseases 4 Cardiovascular 2 Neurology 3 Renal and Fluid electrolyte 4 Hematology and oncology 3 Neonatology 3 Pediatric surgery 1 Adolescence 1 Medical ethics 1 Child abuse and child advocacy 1 Growth and development 2 Child psychiatry 1 Child health supervision & Accident and poisoning 1 Endocrine and Genetics 1 Total 40

Student Critique and Feedback Verbal feedback about the clerkship sought at 4th week meetings Written feedback obtained from end of clerkship critique, which addresses: Curriculum content Learning experience Specific teaching site issues Faculty performance Evaluation issues

Student self-assessment Yr 2005 การซักประวัติ 4.05 + 0.611 การตรวจร่างกาย 4.05 + 0.694 หัตถการพื้นฐาน 3.84 + 0.693 การวิเคราะห์ปัญหาผู้ป่วย 4.01 + 0.631 การเขียนรายงานแบบ POMR 4.01 + 0.613 การแก้ปัญหาปัญหาผู้ป่วย 3.97 + 0.647 การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม 3.93 + 0.676 การสื่อสารกับผู้ป่วยและญาติ 4.15 + 0.639 การทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นทีม 4.02 + 0.655 การแพทย์เชิงประจักษ์ 3.88 + 0.716 การวิเคราะห์ตัดสินใจประเด็นทางจริยธรรม 3.99 + 0.613

Factual knowledge: MCQ-2548 แบ่งเนื้อหาตามหมวดหมู่ดังนี้ ร้อยละ max-min X SD A. Health and health maintenance 27 92.59 - 44.44 67.72 7.09 B. Mechanism of diseases 08 100 – 25 60.42 15.49 C. Diagnosis 32 84.38 - 46.88 65.73 7.94 D. Management and treatment 33 81.82 - 39.39 60.81 9.08 จำนวนนักศึกษา 120 คน < ร้อยละ 50 2 คน < ร้อยละ 60 17 คน

การปรับปรุงและพัฒนา กรรมการวิชาการภาควิชาประกอบด้วย 1. รองหัวหน้าภาควิชาฝ่ายวิชาการ 2. ทีมอาจารย์ประจำชั้นนักศึกษาแพทย์ปีที่ 5/6 จำนวน 5-6 คน 3. นักวิชาการศึกษา หน้าที่ 1. สรุปผลการดำเนินงาน รวบรวมปัญหา พร้อมข้อเสนอแนะ 2. เสนอต่อที่ประชุมภาคเพื่อพิจารณาและรับรอง 3. นำเสนอต่อที่ประชุมรายวิชา ประชุมปีละ 5 ครั้ง

การเรียนการสอนในชั้นปีที่ 6 รายวิชา เวชปฏิบัติกุมารเวชกรรม Practice in Pediatrics Course description: การฝึกปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยในและแผนกผู้ป่วยนอก เพื่อเพิ่มทักษะในการแก้ปัญหาและการดูแลรักษาผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่น ตลอดจนการป้องกัน การสร้างเสริมสุขภาพ และการฟื้นฟูสมรรถภาพ การฝึกทักษะและหัตถการที่สำคัญในเด็ก การให้คำแนะนำและคำปรึกษาในการเลี้ยงดูเด็ก และวัยรุ่น การประเมินความสามารถของตนเอง ในการดูแลรักษาผู้ป่วย การทำงานเป็นทีม การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรักษาต่อหรือปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ

Health Promotion and Palliative care teaching Topic 5thyr 6thyr Resident Health promotion 2+ 2+ 2+ Patient perspective 2+ 2+ 2+ Principle of palliative care 2+ 2+ Common symptoms Mx 1+ 2+ Family support 1+ 2+ Ethical decision :end of life 1+ 2+ Communication skills 1+ 2+ Multidisciplinary teamwork 1+ 2+ Doctor’s role: 1+ 2+

Learning experience-1 Songklanagarind Hospital 3 wk Pediatric ward 1 wk Out Patient Department 1 wk Newborn and nursery ward 1 wk Affiliated Hospital 4 wk Pediatric ward 10 d Out-patient department 10 d Newborn and nursery ward 10 d

Learning experience-2 Slide teaching * Tues 1st wk Quality round Tues 2nd wk Palliative care round Thurs 4th wk Palliative care case discussion* Fri 1st wk Ward round bedside teaching* Newborn bedside teaching*

Palliative Care Case Discussion วัตถุประสงค์ บอกหลักการดูแลแบบ palliative care ผู้ป่วยเด็ก สื่อสารกับผู้ป่วยเพื่อรวบรวมข้อมูลในการดูแล บอกหลักการทำงานเป็นทีมในการดูแล ประยุกต์หลักทางเวชจริยศาสตร์ ในการดูแล

Palliative Care Case Discussion การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ อาจารย์ผู้สอนเลือกตัวอย่างผู้ป่วยในหอผู้ป่วย นักศึกษาแพทย์กลุ่มที่ปฏิบัติงานที่ OPD ในสัปดาห์แรก อภิปรายในวันศุกร์สัปดาห์แรกเวลา 15.00-16.30 น. การประเมินผล จากการซักถาม แบบสอบถามเมื่อลงกอง

Health Promotion and Palliative care teaching Topic 5thyr 6thyr Resident Health promotion 2+ 2+ 2+ Patient perspective 2+ 2+ 2+ Principle of palliative care 2+ 2+ Common symptoms Mx 1+ 2+ Family support 1+ 2+ Ethical decision :end of life 1+ 2+ Communication skills 1+ 2+ Multidisciplinary teamwork 1+ 2+ Doctor’s role: 1+ 2+

Learning experience Palliative care conference: ทีม palliative care* ทุกวันพฤหัสบดีสุดท้ายของเดือนเวลา 9.30-11.30 น. - แพทย์เจ้าของไข้ แพทย์ประจำบ้านและแพทย์ใช้ทุน - หัวหน้าพยาบาล - พยาบาลทีม palliative ward เด็ก 2 - อาจารย์แพทย์และพยาบาลหน่วย palliative - จิตแพทย์เด็ก นักจิตวิทยาเด็ก นักสังคมสงเคราะห์ Service round and Palliative care round ทุกวัน โดยมี Ward staff ร่วมกับ resident และพยาบาล ward

Health Promotion and Palliative Care