แนวทางการจัดทำรายงานประเมินผลการควบคุมภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
Advertisements

ระบบทรัพย์สินถาวร KKUF MIS
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
กระบวนการจัดส่งรายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ประชุมคณะกรรมการตรวจรับงานฯ คณะที่ปรึกษาโครงการ AM/FM/GIS
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ปฏิทินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
หลักเกณฑ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติการ
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตามผลการควบคุมภายในการรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6
การจัดทำแผนปฏิบัติการ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
1. แบบ SNRU-ERM 1 แบบแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน (Key Process)
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ระดับหน่วยงาน แบบ ปย.1 แบบ ปอ.1 แบบ ปส. แบบ ปย.2 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
การประเมินผลการควบคุมภายใน
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด ประจำปี 2556
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
มาตรฐานการควบคุมภายใน
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
โครงงาน คุณธรรมจริยธรรมในชั้นเรียน
กระบวนงาน การฝึกอบรม ประชุม สัมมนา.
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
การประเมินผลโครงการ.  ชื่อโครงการ  หน่วยงานเจ้าของโครงการ  ผู้รับผิดชอบ  ระยะดำเนินการ  สถานที่ดำเนินการ  งบประมาณ  ผลผลิต  ความสอดคล้องในเชิงยุทธศาสตร์
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
หลักการเขียนโครงการ.
กระบวนการดำเนินการประชาสัมพันธ์
ทบทวนการจัดทำ รายงานควบคุมภายใน
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดทำรายงานประเมินผลการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 ก.ย. ของทุกปี แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ก. ส่วนงานย่อย (กลุ่ม/กลุ่มงาน) 1. นำแบบ ปย.2 (ของงวดก่อน) มาติดตามผลการปฏิบัติงาน แล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปย. 2 (ตามเอกสารแบบฟอร์มรายงาน สำหรับส่วนงานย่อย ภาคผนวก ข)

กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ กลุ่ม/กลุ่มงาน...................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ......... แบบติดตาม ปย. 2 วัตถุประสงค์ ของการควบคุม การควบคุมที่มีอยู่ การประเมินผล การควบคุม ความเสี่ยงที่มีอยู่ การปรับปรุง การควบคุม วิธีการติดตามและ สรุปผลการประเมิน/ ข้อคิดเห็น กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ ( 1 ) ( 2 ) (3) (4) ( 5 ) ( 6 ) ( 7 )

2. ประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ (รายละเอียดตามเอกสารการประเมิน ภาคผนวก ค) แล้วสรุปลงในแบบ ปย. 1 (ตามเอกสารแบบฟอร์มรายงานสำหรับส่วนงานย่อย ภาคผนวก ข )

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป ชื่อกลุ่ม/กลุ่มงาน....................................................... รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ............ ปย .1 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล

3. ประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเองตาม CSA 4. นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลืออยู่ตามข้อ 1 + ความเสี่ยงตามข้อ 2 และข้อ 3 เพื่อหามาตรการ/แนวทาง พร้อมทั้งกำหนด ผู้รับผิดชอบและระยะเวลาดำเนินการตาม แบบ ปย.2 (รายละเอียดตามแบบฟอร์มรายงานสำหรับส่วนงานย่อย ภาคผนวก ข)

กระบวนการปฏิบัติงาน/ ด้านของงานที่ประเมิน กลุ่ม./กลุ่มงาน............................ รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.............. แบบ ปย.2 กระบวนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/กิจกรรม/ ด้านของงานที่ประเมิน และวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) การควบคุมที่มีอยู่ (2) การประเมินผล การควบคุม (3) ความเสี่ยง ที่ยังมีอยู่ (4) การปรับปรุง การควบคุม (5) กำหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (6) หมายเหตุ (7)

แบบรายงานที่กลุ่ม/กลุ่มงานส่ง ผู้รับผิดชอบ แบบที่จัดส่งให้ผู้รับผิดชอบ แบบ ปย. 2 แบบที่เก็บไว้ที่กลุ่ม/กลุ่มงาน แบบติดตาม ปย. 2 แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบ ปย. 1

ข. หน่วยรับตรวจ (สพท./โรงเรียน) ณ วันที่ 30 ก.ย. ของทุกปี 1. แต่งตั้งคณะทำงาน/กรรมการ 2. นำแบบ ปอ.3 (ของงวดก่อน) มาติดตามผลการปฏิบัติงาน แล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปอ.3 (ตามแบบฟอร์มการรายงาน สำหรับหน่วยงาน ภาคผนวก ก)

ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ สพท./สถานศึกษา...................... การติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ........... แบบติดตาม ปอ.3 วัตถุประสงค์ ของการควบคุม ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ งวด/เวลา พบจุดอ่อน การปรับปรุง การควบคุม วิธีการติดตามและ สรุปผลการประเมิน/ ข้อคิดเห็น กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ ( 1 ) ( 2 ) (3) (4) (5) (6 )

3. ประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ (รายละเอียดตามเอกสารการประเมิน ภาคผนวก ค) แล้ว สรุปลงในแบบ ปอ. 2 (ตามแบบฟอร์มรายงาน ภาคผนวก ก)

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป ชื่อสพท./สถานศึกษา....................................................... รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ........... ปอ .1 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล

4. นำความเสี่ยงที่หลงเหลือในข้อที่ 2 และ 3 และ แบบ ปย 4.นำความเสี่ยงที่หลงเหลือในข้อที่ 2 และ 3 และ แบบ ปย. 2 ของกลุ่ม/กลุ่มงาน ให้คณะกรรมการติดตามพิจารณาจัดทำแล้วสรุปลงใน แบบ ปอ. 3 ตามแบบ ฟอร์มรายงาน ภาคผนวก ก)

ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ สพท./โรงเรียน...................... การติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.......... แบบ ปอ.3 วัตถุประสงค์ ของการควบคุม ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ งวด/เวลา พบจุดอ่อน การปรับปรุง การควบคุม กำหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ ( 1 ) (3) (4) ( 5 ) ( 6 ) ( 2 )

5. นำความเสี่ยงที่มีอยู่ในแบบ ปอ. 3 สรุปลงใน แบบ ปอ 5. นำความเสี่ยงที่มีอยู่ในแบบ ปอ. 3 สรุปลงใน แบบ ปอ. 1 (รายละเอียดตามแบบฟอร์มการรายงาน ภาคผนวก ก)

สรุป แนวทางการจัดส่งรายงาน สรุป แนวทางการจัดส่งรายงาน สตง. รมว.ศธ. สพฐ. ส่ง ปอ. 1 -ส่งเฉพาะแบบ ปอ.1 -ส่วนแบบ ปอ. 2 แบบ ปอ. 3 และแบบ ปส. เก็บไว้ที่หน่วยงาน ส่ง ปอ. 1 สพท. สตง.ภูมิภาค ส่ง ปอ. 1 - ส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 ส่วนแบบ ปอ. 2 และปอ.3 เก็บไว้ที่หน่วยงาน สถานศึกษา ส่ง ปอ. 1