แนวทางการจัดทำรายงานประเมินผลการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 ก.ย. ของทุกปี แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ก. ส่วนงานย่อย (กลุ่ม/กลุ่มงาน) 1. นำแบบ ปย.2 (ของงวดก่อน) มาติดตามผลการปฏิบัติงาน แล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปย. 2 (ตามเอกสารแบบฟอร์มรายงาน สำหรับส่วนงานย่อย ภาคผนวก ข)
กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ กลุ่ม/กลุ่มงาน...................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ......... แบบติดตาม ปย. 2 วัตถุประสงค์ ของการควบคุม การควบคุมที่มีอยู่ การประเมินผล การควบคุม ความเสี่ยงที่มีอยู่ การปรับปรุง การควบคุม วิธีการติดตามและ สรุปผลการประเมิน/ ข้อคิดเห็น กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ ( 1 ) ( 2 ) (3) (4) ( 5 ) ( 6 ) ( 7 )
2. ประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ (รายละเอียดตามเอกสารการประเมิน ภาคผนวก ค) แล้วสรุปลงในแบบ ปย. 1 (ตามเอกสารแบบฟอร์มรายงานสำหรับส่วนงานย่อย ภาคผนวก ข )
องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป ชื่อกลุ่ม/กลุ่มงาน....................................................... รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ............ ปย .1 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล
3. ประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเองตาม CSA 4. นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลืออยู่ตามข้อ 1 + ความเสี่ยงตามข้อ 2 และข้อ 3 เพื่อหามาตรการ/แนวทาง พร้อมทั้งกำหนด ผู้รับผิดชอบและระยะเวลาดำเนินการตาม แบบ ปย.2 (รายละเอียดตามแบบฟอร์มรายงานสำหรับส่วนงานย่อย ภาคผนวก ข)
กระบวนการปฏิบัติงาน/ ด้านของงานที่ประเมิน กลุ่ม./กลุ่มงาน............................ รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.............. แบบ ปย.2 กระบวนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/กิจกรรม/ ด้านของงานที่ประเมิน และวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) การควบคุมที่มีอยู่ (2) การประเมินผล การควบคุม (3) ความเสี่ยง ที่ยังมีอยู่ (4) การปรับปรุง การควบคุม (5) กำหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (6) หมายเหตุ (7)
แบบรายงานที่กลุ่ม/กลุ่มงานส่ง ผู้รับผิดชอบ แบบที่จัดส่งให้ผู้รับผิดชอบ แบบ ปย. 2 แบบที่เก็บไว้ที่กลุ่ม/กลุ่มงาน แบบติดตาม ปย. 2 แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบ ปย. 1
ข. หน่วยรับตรวจ (สพท./โรงเรียน) ณ วันที่ 30 ก.ย. ของทุกปี 1. แต่งตั้งคณะทำงาน/กรรมการ 2. นำแบบ ปอ.3 (ของงวดก่อน) มาติดตามผลการปฏิบัติงาน แล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปอ.3 (ตามแบบฟอร์มการรายงาน สำหรับหน่วยงาน ภาคผนวก ก)
ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ สพท./สถานศึกษา...................... การติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ........... แบบติดตาม ปอ.3 วัตถุประสงค์ ของการควบคุม ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ งวด/เวลา พบจุดอ่อน การปรับปรุง การควบคุม วิธีการติดตามและ สรุปผลการประเมิน/ ข้อคิดเห็น กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ ( 1 ) ( 2 ) (3) (4) (5) (6 )
3. ประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ (รายละเอียดตามเอกสารการประเมิน ภาคผนวก ค) แล้ว สรุปลงในแบบ ปอ. 2 (ตามแบบฟอร์มรายงาน ภาคผนวก ก)
องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป ชื่อสพท./สถานศึกษา....................................................... รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ........... ปอ .1 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล
4. นำความเสี่ยงที่หลงเหลือในข้อที่ 2 และ 3 และ แบบ ปย 4.นำความเสี่ยงที่หลงเหลือในข้อที่ 2 และ 3 และ แบบ ปย. 2 ของกลุ่ม/กลุ่มงาน ให้คณะกรรมการติดตามพิจารณาจัดทำแล้วสรุปลงใน แบบ ปอ. 3 ตามแบบ ฟอร์มรายงาน ภาคผนวก ก)
ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ สพท./โรงเรียน...................... การติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.......... แบบ ปอ.3 วัตถุประสงค์ ของการควบคุม ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ งวด/เวลา พบจุดอ่อน การปรับปรุง การควบคุม กำหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ ( 1 ) (3) (4) ( 5 ) ( 6 ) ( 2 )
5. นำความเสี่ยงที่มีอยู่ในแบบ ปอ. 3 สรุปลงใน แบบ ปอ 5. นำความเสี่ยงที่มีอยู่ในแบบ ปอ. 3 สรุปลงใน แบบ ปอ. 1 (รายละเอียดตามแบบฟอร์มการรายงาน ภาคผนวก ก)
สรุป แนวทางการจัดส่งรายงาน สรุป แนวทางการจัดส่งรายงาน สตง. รมว.ศธ. สพฐ. ส่ง ปอ. 1 -ส่งเฉพาะแบบ ปอ.1 -ส่วนแบบ ปอ. 2 แบบ ปอ. 3 และแบบ ปส. เก็บไว้ที่หน่วยงาน ส่ง ปอ. 1 สพท. สตง.ภูมิภาค ส่ง ปอ. 1 - ส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 ส่วนแบบ ปอ. 2 และปอ.3 เก็บไว้ที่หน่วยงาน สถานศึกษา ส่ง ปอ. 1