กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
การวางแผน เพื่อการเกษียณ
การเช่ารถยนต์ใช้ในงานราชการ
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี ( ตาม มาตรา 56 ทวิ)
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
กฎหมายภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับ “สหกรณ์”
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
หน่วยงานอื่นของรัฐหรือหน่วยงานอื่นใดที่ดำเนินกิจการของรัฐตาม กฎหมาย และได้รับเงินอุดหนุน หรือเงิน หรือทรัพย์สินลงทุนจากรัฐ กระทรวง ทบวง.
องค์การคลังสินค้า (อคส.)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
ทุนส่งเสริมการศึกษาบุตรสมาชิก
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
สำหรับกิจการ “สหกรณ์” สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
ผู้จัดทำ 1.นางสาวสุพรรษา ภูพวก เลขที่19 ม.4/4
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 211) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย มาตรา 50 มาตรา 3 เตรส โดยคำสั่ง ท.ป. 4/2528 มาตรา 70 มาตรา 69 ทวิ มาตรา 69 ตรี

กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย มาตรา 50 มาตรา 3 เตรส โดยคำสั่ง ท.ป. 4/2528 มาตรา 70 มาตรา 69 ทวิ มาตรา 69 ตรี

มาตรา 50 จ่ายให้แก่ผู้รับที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (1) กรณีจ่ายเงินได้ ประเภทที่ (1) และ(2) ปกติ ขั้นตอนที่ 1 เงินได้หรือประเมิน x จำนวน คราวที่ต้องจ่าย ขั้นตอนที่ 2 หักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน ขั้นตอนที่ 3 คำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมดา ขั้นตอนที่ 4 หารด้วยจำนวนคราวที่ต้องจ่าย

ตัวอย่าง นายเอก ทำงานบริษัทไทย จำกัด ได้รับเงินเดือนๆ ละ 50,000 บาท นายเอก ได้แจ้งสภาพการหักลดหย่อน และยกเว้นไว้ดังนี้ - ภริยาชอบด้วยกฎหมายไม่มีเงินได้และร่วมกันตลอดปีภาษี - บุตรชอบด้วยกฎหมายที่เป็นผู้เยาว์ กำลังศึกษาในประเทศ ไทย 2 คน - จ่ายประกันชีวิตของตนเอง 80,000 บาท - จ่ายประกันชีวิตของภรรยา 20,000 บาท ดังนั้นบริษัทไทย จำกัดจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ในปี 2549 เดือนละเท่าไร

ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิตภรรยา = 10,000 = 154,000 คงเหลือเงินได้สุทธิ = 386,000 ภาษีเงินได้ทั้งปี(100,000 ได้รับยกเว้นภาษี)+286,000x10% = 28,600 ภาษีที่จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย เดือนละ = 28,600 /12 = 2,383.33 การคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย ตามกฎหมายใหม่ เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี 50,000 x 12 = 600,000 หัก ค่าใช้จ่าย ( 40%ไม่เกิน 60,000 ) = 60,000 คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย = 540,000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว = 30,000 ค่าลดหย่อนคู่สมรส = 30,000 ค่าลดหย่อนบุตรศึกษา 2 คน = 34,000 ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิตส่วนตัว = 50,000

ตัวอย่าง นายโท เป็นคนโสดมีรายได้จากการเป็นนายหน้าขายประกันชีวิตดังนี้ คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย = 72,000 บาท หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว = 30,000 บาท คงเหลือ เงินได้สุทธิ = 42,000 บาท ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย เนื่องจากเงินได้สุทธิไม่เกิน 100,000 ได้รับยกเว้น มกราคม 120,000 บาท กุมภาพันธ์ 90,000 บาท มีนาคม 60,000 บาท ดังนั้นบริษัทประกันภัยจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่างไร ค่านายหน้าเดือนมกราคม = 120,000 บาท หัก ค่าใช้จ่าย(40%ไม่เกิน 60,000 บาท ) = 48,000 บาท ตัวอย่าง

= 120,000 คงเหลือ เงินได้สุทธิ ภาษีที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเดือน กุมภาพันธ์ = 2,000 บาท ภาษีเงินได้ = (100,000 ได้รับยกเว้น) +20,000 x10% = 30,000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว = 150,000 คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย = 60,000 หัก ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000) = 210,000 ค่านายหน้าเดือนกุมภาพันธ์ต้องรวมเดือนมกราคมด้วย

= 180,000 คงเหลือ เงินได้สุทธิ = 8,000 ภาษีเงินได้ = (100,000 ได้รับยกเว้น) +80,000 x10% = 6,000 ดังนั้น ภาษีหัก ณ ที่จ่ายเดือนมีนาคม = 8,000 – 2,000 หากผู้รับค่านายหน้ามิได้อยู่ในประเทศไทยให้หักร้อยละ 15 ของเงินได้เลย ข้อสังเกต = 30,000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว = 210,000 คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย = 60,000 หัก ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000) = 270,000 ค่านายหน้าเดือนมีนาคม ต้องรวมเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ด้วย

มาตรา 50 (ต่อ) (2) กรณีจ่ายเงินได้ประเภทที่ (1) และ (2) ซึ่งนายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน ขั้นตอนที่ 1 เงินได้ที่ต้องนำคำนวณ ขั้นตอนที่ 2 หักค่าใช้จ่าย 7000 x จำนวนปี ที่ทำงาน 50 % ขั้นตอนที่ 3 คำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมดา

มาตรา 50 (ต่อ) (3) กรณีจ่ายค่าลิขสิทธิ์กู๊ดวิล เงินได้ที่จ่าย x อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (4) กรณีจ่ายดอกเบี้ย เงินได้ที่จ่าย x 15% (5) กรณีจ่ายเงินปันผล เงินได้ที่จ่าย x 10% (6) กรณีรัฐบาล องค์การรัฐบาล จ่ายเงินได้ประเภท ค่าเช่า วิชาชีพอิสระ รับเหมา การธุรกิจ ฯ เงินได้ที่จ่าย x 1% สำหรับการจ่ายตั้งแต่ 10,000 บาท

สรุปการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 3 เตรส และคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.4/2528

ลำดับที่ 1 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) และ(3) เช่น ค่านายหน้า, ค่าแห่งกู๊ดวิลล์, ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่น เป็นต้น ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 1 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบ กิจการในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (2) มูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 10.0

สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(2) เช่น ค่านายหน้าหรือค่าวิทยากร สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(2) เช่น ค่านายหน้าหรือค่าวิทยากร 15% 10% 3% ม. 50(1) มูลนิธิ หรือ สมาคม บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติฯ ผู้เสียภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่มิได้ ประกอบกิจการในไทย ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลประกอบกิจการในไทย บุคคลธรรมดา

ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(3) เช่น ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือกู๊ดวิล 200,000 x 10% = 25,000 กรณีไม่อยู่ในไทย 300,000 x 15% = 45,000 45,000 30,000 9,000 100,000 x 5% 300,000 x 15 % 300,000 x 10 % 300,000 x 3% 300,000 เช่น 15% 10% 3% อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีอยู่ในไทย มูลนิธิ หรือ สมาคม บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติฯ ผู้เสียภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่มิได้ ประกอบกิจการในไทย ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล บุคคลธรรมดา

ลำดับที่ 2 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ก) เช่น ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยตั๋วเงิน เป็นต้น ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - ธนาคารพาณิชย์ - บริษัทเงินทุน / หลักทรัพย์ / เครดิตฯ

ลำดับที่ 2 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบ กิจการในประเทศไทย (ไม่รวมถึงธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน /หลักทรัพย์ /เครดิตฯ) อัตราภาษีร้อยละ 1.0 (2) มูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 10.0

ลำดับที่ 3 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ก) เฉพาะดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคล(ไม่รวมถึงธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน/หลักทรัพย์/เครดิตฯ)

ลำดับที่ 3 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี ธนาคารพาณิชย์ หรือบริษัทเงินทุน/หลักทรัพย์/เครดิตฯ อัตราภาษีร้อยละ 1.0

ลำดับที่ 4 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ก) เฉพาะดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยตั๋วเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียมเฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายดังกล่าว

ลำดับที่ 4 (ต่อ) ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจำหน่ายตั๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเป็นผู้ออกและจำหน่ายครั้งแรกในราคาต่ำกว่าราคาไถ่ถอน ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคล (ไม่รวมถึงธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน/หลักทรัพย์/เครดิตฯ)

ลำดับที่ 4 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการ ในประเทศไทย (ไม่รวมถึงธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน/หลักทรัพย์/เครดิตฯ) อัตราภาษีร้อยละ 1.0 (2) มูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 10.0

40(ก) ข้อ 4 ดอกเบี้ยพันธบัตร ข้อ 5 ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ข้อ 6 ดอกเบี้ย ฯ ธนาคารหรือ สถาบันการเงิน 40(ก) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล 1 % มูลนิธิหรือสมาคม 10% ข้อ 4 ข้อ 5 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น ดอกเบี้ยพันธบัตร ธนาคารหรือ สถาบันการเงิน 1 % ดอกเบี้ยหุ้นกู้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล 1% มูลนิธิหรือสมาคม 10% ข้อ 6 ดอกเบี้ย ฯ

สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(ก) เช่น ดอกเบี้ย สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(ก) เช่น ดอกเบี้ย เช่น 30,000 20,000 2,000 200,000 x 15 % 200,000 x 10 % 200,000 x 1% 15% 10% 1% มูลนิธิ หรือ สมาคม บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติฯ ผู้เสียภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่มิได้ ประกอบกิจการในไทย ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล บุคคลธรรมดา

ลำดับที่ 5 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรหรือประโยชน์อื่นใด ตามมาตรา 40(4)(ข)

ลำดับที่ 5 (ต่อ) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย - กองทุนรวม - สถาบันการเงิน ที่มีกฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตั้งขึ้นสำหรับให้กู้ยืมเงินเพื่อส่งเสริมเกษตรกรรมฯ (ไม่รวมถึงกิจการร่วมค้า)

ลำดับที่ 5 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศประกอบกิจการในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 10.0 (2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (ไม่รวมถึงบริษัทจดทะเบียนและบริษัทจำกัดซึ่งถือหุ้นในบริษัทจำกัดผู้จ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียงในบริษัทจำกัด ผู้จ่ายเงินปันผลไม่ได้ถือหุ้นในบริษัทจำกัดผู้รับเงินปันผล ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม) อัตราภาษีร้อยละ 10.0

ลำดับที่ 6 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าเช่า หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้จากการให้ เช่าทรัพย์สินตามมาตรา 40(5)(ก) ได้แก่ ค่าเช่า อาคาร บ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ฯลฯ (แต่ไม่รวมถึงค่าแห่งอาคารหรือ โรงเรือนที่ได้รับกรรมสิทธิ์และค่าเช่าตามสัญญาให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง ตามคำสั่ง ท.ป. 29/2543 และ ท.ป. 34/2534)

ลำดับที่ 6 (ต่อ) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 5.0 (2) มูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 10.0 (3) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 5.0

ลำดับที่ 6 (ต่อ) ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าเช่าเรือตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมพาณิชย์นาวีที่ใช้ในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (ตามคำสั่ง ท.ป.68/2539) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 6 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 1.0 (2) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 1.0

สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(5) เช่น ค่าทรัพย์สิน สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(5) เช่น ค่าทรัพย์สิน อยู่ในไทย 5 % 15% 10% 5 % มิได้อยู่ในไทย 15% มูลนิธิ หรือ สมาคม บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติฯ ผู้เสียภาษีเงินได้ ที่มิได้ประกอบ กิจการในไทย ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลประกอบกิจการในไทย บุคคลธรรมดา

ลำดับที่ 7 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าวิชาชีพอิสระ ตามมาตรา 40(6) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลประกอบกิจการในไทย สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(6) เช่น ประกอบโรคศิลป , กฎหมาย , บัญชี อยู่ในไทย 3 % 15% 10% 3 % มิได้อยู่ในไทย 15% มูลนิธิ หรือ สมาคม บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติฯ ผู้เสียภาษีเงินได้ ที่มิได้ประกอบ กิจการในไทย ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลประกอบกิจการในไทย บุคคลธรรมดา

ลำดับที่ 7 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (2) มูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 10.0 (3) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีภูมิลำเนาหรืออยู่ในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 3.0

ลำดับที่ 8 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าจ้างทำของตามมาตรา 40(7)และมาตรา 40(8) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 8 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (2) บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้น ตามกฎหมายของต่างประเทศ โดยมีสำนักงานสาขาตั้งอยู่เป็นการถาวรในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (3) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 3.0

ลำดับที่ 9 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าจ้างทำของ ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บุคคล - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น - ห้างหุ้นส่วนสามัญ - คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล

ลำดับที่ 9 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ ประกอบกิจการในประเทศไทย โดยมิได้มีสำนักงานสาขาตั้งอยู่เป็นการถาวรในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 5.0

ลำดับที่ 10 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย รางวัลในการประกวด การแข่งขัน การชิงโชค หรือการอื่นใดอันมีลักษณะทำนองเดียวกัน ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บุคคล - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น - ห้างหุ้นส่วนสามัญ - คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล

ลำดับที่ 10 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล หรือผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 5.0

ลำดับที่ 11 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่านักแสดงสาธารณะ ได้แก่ นักแสดงละครภาพยนต์ วิทยุและโทรทัศน์, นักร้องนักดนตรี นักกีฬาอาชีพ หรือนักแสดงเพื่อความบันเทิงใดๆ ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บุคคล - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น - ห้างหุ้นส่วนสามัญ - คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล

ลำดับที่ 11 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีภูมิลำเนาอยู่ในต่างประเทศ อัตราภาษีร้อยละ 5.0 -37.0 (2) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศ อัตราภาษีร้อยละ 5.0

ลำดับที่ 12 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าโฆษณา ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 12 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล หรือผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 2.0

ลำดับที่ 13 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าสินค้าพืชผลทางการเกษตร ประเภทยางแผ่น มันสำปะหลัง ปอ ข้าว ข้าวโพด อ้อย เมล็ดกาแฟ ผลปาล์มน้ำมัน

ลำดับที่ 13 (ต่อ) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่นเฉพาะกรณีผู้ซื้อเป็นผู้ส่งออกหรือผู้ผลิตตามที่ระบุไว้ (แต่ไม่รวมถึงกลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีร้อยละ 0.75

ลำดับที่ 14 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าบริการตามมาตา 40(8) แต่ไม่รวมถึง (1) การจ่ายเงินได้ตาม 8,9,11,12,15 และ 17 ซึ่งกำหนดให้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ไว้โดยเฉพาะแล้ว (2) การจ่ายค่าบริการโรงแรมและภัตตาคาร (3) การจ่ายค่าเบี้ยประกันชีวิต

ลำดับที่ 14 (ต่อ) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย(ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคม) อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (2) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 3.0

ลำดับที่ 15 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย รางวัล ส่วนลด หรือประโยชน์ใดๆ เนื่องจากการส่งเสริมการขาย ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 15 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย (ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคม) อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (2) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลธรรมดา(ไม่รวมถึงผู้รับที่เป็นผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการซึ่งเป็นผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการโดยตรงโดยมิได้มีวัตถุประสงค์จะนำไปขายต่อไป) อัตราภาษีร้อยละ 3.0

ลำดับที่ 16 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าเบี้ยประกันวินาศภัย ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งประกอบกิจการวินาศภัยตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัยในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 1.0

ลำดับที่ 17 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าขนส่ง (ไม่รวมถึงค่าโดยสารสำหรับการขนส่งสาธารณะ) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 17 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย(ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคม) อัตราภาษีร้อยละ 1.0 (2) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีร้อยละ 1.0

หมายเหตุ (1) ข้อความตามลำดับที่ 1 ถึงลำดับที่ 4 และลำดับที่ 14 ถึงลำดับที่ 17 คือส่วนที่แก้ไขเพิ่มเติมใหม่ตามกฎหมายกระทรวงฉบับที่ 229 (พ.ศ. 2544) ประกอบกับคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป.101/2544 และ ทป.104/2544

หมายเหตุ (2) มูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศกำหนดให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข) นั้น ไม่ใช่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ดังนั้นจึงไม่อยู่ในข่ายต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แต่อาจมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายตามกรณีที่กฎหมายกำหนด

มาตรา 70 (1) จ่ายให้ หักบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ (2) มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย (3) จ่ายเงินได้ประเภท (2) – (6) ได้แก่ - ค่านายหน้า - ค่ากู๊ดวิล ลิขสิทธิ์ - ดอกเบี้ย เงินปันผล ขายหุ้นเกินจากที่ทุนไว้ - ค่าเช่าทรัพย์ - วิชาชีพอิสระ เช่น ประกอบโรคศิลป กฎหมาย บัญชี

มาตรา 69 ทวิ กรณีรัฐบาล องค์การรัฐบาล เทศบาล องค์บริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น จ่ายเงินได้พึงประเมินให้กับบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหักภาษีอัตราร้อยละ 1.0

มาตรา 69 ตรี กรณีบุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท สมาคม หรือ คณะบุคคล จ่ายเงินได้พึงประเมินให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล การขายอสังหาริมทรัพย์ หักภาษีอัตราร้อยละ 1.0