ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
โครงการนิเทศเต็มพิกัดศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาเมือง๔
โรงเรียนในฝัน
เส้นทางก้าวสู่เป้าหมาย การสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียน ปีที่ 2
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หน่วย การเรียนรู้.
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
Self-Assessment Report
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพ
ปีงบประมาณ ในฝัน ในฝัน ในฝัน รวม 1,7802,500 เป้าหมาย.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
ขวา ซ้าย.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปลูกพืชผักสวนครัว
My school.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
มาตรการส่งเสริม โรงเรียนบ้านเขาแก้ววิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.
๘ กลยุทธ์ การยกระดับและคุณภาพ O-NET ปี ๒๕๕๕
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
แผนการจัดการเรียนรู้
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
โรงเรียนคุณภาพ สพท.ชัยภูมิ เขต 3
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network) และบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ ICT 1

พรบ.การศึกษา 42เพิ่มเติม 45 หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา( เป็นหัวใจของพรบ. การศึกษา) ม.22 ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้,ผู้เรียนสำคัญที่สุด ม.23 องค์ประกอบที่ 4. มีกระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมแต่ละระดับ ดังนี้ 1. ความรู้เกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม 2. ความรู้ด้านทักษะวิทย์ และเทคโนโลยี 3. ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมฯ 4. ความรู้ด้านคณิต ภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง 5. ความรู้ด้านการประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิต 2

มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ 3.1 ระดับสัมฤทธิ์ผลโดยเฉลี่ยสามปีย้อนหลังของผู้เรียนที่มีนิสัยรักการอ่าน สนใจ แสวงหาความรู้จากแหล่งต่างๆรอบตัวและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ 3.2 ระดับสัมฤทธิ์ผลโดยเฉลี่ยสามปีย้อนหลังของผู้เรียนสามารถเรียนรู้เป็นทีมได้ (TEAM LEARNING) 3.3 ระดับสัมฤทธิ์ผลโดยเฉลี่ยสามปีย้อนหลังของผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ 3

มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนสามารถคิดเป็น ทำเป็น ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ ๔.๑ ระดับสัมฤทธิผลโดยเฉลี่ยสามปีย้อนหลังของผู้เรียนที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ๔.๒ ระดับสัมฤทธิผลโดยเฉลี่ยสามปีย้อนหลังของผู้เรียนที่มีความสามารถในการคิดสังเคราะห์ ๔.๓ ระดับสัมฤทธิผลโดยเฉลี่ยสามปีย้อนหลังของผู้เรียนที่มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ ๔.๔ ระดับสัมฤทธิผลโดยเฉลี่ยสามปีย้อนหลังของผู้เรียนที่มีความสามารถในการตัดสินใจอย่างมีวิจารณญาณ ๔.๕ ระดับสัมฤทธิผลโดยเฉลี่ยสามปีย้อนหลังของผู้เรียนที่มีความสามารถในการแก้ปัญหา 4

มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 6 ด้านการบริหารและพัฒนาสถานศึกษา 6.4 ประสิทธิผลการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใน 8 กลุ่มสาระ 5

แผนกลยุทธ์โรงเรียนในฝัน ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ด้านคุณภาพนักเรียน (ข้อ 1) 1.1,1.2,1.3,1.4 - ด้านกระบวนการจัดการศึกษาภายในโรงเรียน (ข้อ 3) 3.1,3.2.3.3 - ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา (ข้อ 1) 1.3,1.5,1.6,1.7,1.8 (ข้อ 2) 2.1,2.2,2.3 - ด้านงบประมาณและทรัพยากร (2) 2.1,2.2

แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) บุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดวิเคราะห์ ทักษะการดำรงชีวิต มั่นใจในตนเอง มีความเป็นไทย นักเรียน กระบวนการจัดการศึกษาในโรงเรียน สร้างโอกาส ดูแล ช่วยเหลือ บูรณาการ การเรียนรู้ โรงเรียน ธรรมาภิบาล ประกัน คุณภาพ การเรียนรู้ & การพัฒนา e-School มืออาชีพ งบประมาณ & ทรัพยากร คุ้มค่า ภาคี เครือข่าย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1.สมรรถนะของครูผู้สอน   1.1 มีความรู้    1.2 มีทักษะ เป็นผู้ที่มีทักษะในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ สามารถ ผลิตสื่อ เทคโนโลยีและอุปกรณ์ในการเรียนการสอนที่สอดคล้องเหมาะสมกับ สภาพผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษา    1.3 มีมนุษยสัมพันธ์     1.4 มีอุดมการณ์ จะเห็นได้จากการทุ่มเท เสียสละ กล้าคิด กล้าทำ และไม่หวังผลตอบแทน http://gotoknow.org/blog/pathompong/3506 9

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. สมรรถนะของผู้บริหาร     2.1 มีภาวะความเป็นผู้นำ  กล้าคิด กล้าทำ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานได้มีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา ร่วมพัฒนา     2.2 มีความรู้ความเข้าใจหลักสูตร เช่น จุดประสงค์ของหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง  การนิเทศการสอน เป็นต้น      2.3 มีความสามารถในการสื่อสาร     2.4 เป็นนักประสานสัมพันธ์  http://gotoknow.org/blog/pathompong/3506 10

มุ่งสู่ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทักษะเหล่านี้พัฒนาขึ้นโดย the Partnership for 21st Century Skills โดยจัดหมวดหมู่ออกเป็น 3 กลุ่มคือ : ทักษะการเรียนรู้และทักษะนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ทักษะด้านข่าวสาร สื่อและเทคโนโลยี (Information, Media, and Technology Skills) ทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and Career skills)

สิ่งที่ดีที่สุดที่จะอธิบายแก่นของทักษะในศตวรรษที่ 21 คือเป็นการเน้นว่านักเรียนสามารถทำอะไรกับความรู้ มากกว่าที่จะบอกว่านักเรียนรู้อะไร 12