งบประมาณ สำหรับ รพ.สต. ปี 2556
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ รพ.สต. ปี 2556 คณะกรรมการบริหารงบประมาณของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556 นพ. ปรีชา สิริจิตราภรณ์ เป็นประธาน กรรมการ ประกอบด้วย 1. ต้วแทน ผอ.รพช. 5 ท่าน 2. ตัวแทน หัวหน้ากลุ่มงาน-สสจ.ชม. 5 ท่าน 3. ตัวแทน สสอ. 5 ท่าน
ตัวแทน สาธารณสุขอำเภอ 5 ท่าน 1. นายทอง พันทอง สาธารณสุขอำเภอสันทราย 2. นายณรงค์เดช สมควร สาธารณสุขอำเภอฝาง 3. นายทวีศิลป์ ชัยชนะ สาธารณสุขอำเภอหางดง 4. นายสุรสิทธิ์ เทียมทิพย์ สาธารณสุขอำเภอแม่แจ่ม 5. นายสุเทพ ตาพรหม สาธารณสุขอำเภอไชยปราการ
วิเคราะห์ปัญหา ปัญหาที่พบ 1. รพ.สต. ขาดงบประมาณดำเนินการ 2. สถานการณ์การเงิน ของหน่วยบริการขาดสภาพคล่อง - สปสช. ไม่เพิ่มค่าหัวประชากร 3 ปี (2,895.60 บาท/ปชก.) - รัฐบาลเพิ่มเงิน วุฒิปริญญาตรี = 15,000 - มีภาระหนี้สิ้นการส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการ ณ หน่วยบริการอื่น 3. อื่นๆ
ภาระหนี้สิ้นของหน่วยบริการ จ.เชียงใหม่ ภาระหนี้สิ้นของหน่วยบริการ จ.เชียงใหม่ ประเภทบริการ ปีงบ 55 ปีงบ 56 ประมาณ 8 เดือน OPD_ER 7,389,960 4,916,750 OPD_REFER 125,595,776 69,657,712 CT/MRI/Angiogram 37,860,975 23,150,380 สถาบันเด็กฯ 1,905,233 1,940,231 มาตรา 7 12,514,309 13,248,489 รวมทั้งสิ้น 185,266,253 112,913,562
แนวทางการแก้ปัญหา แบ่งเป็น 2 ระยะ 1. ระยะสั้น ปีงบ 56 (ตค. 55-กย.56) ก. กำหนดจำนวนบุคลากร ตามขนาด รพ.สต. ข. กำหนดประเภทค่าใช้จ่ายการดำเนินงานที่สนับสนุน รพ.สต. ค. กำหนดแหล่งงบประมาณที่สนับสนุนการดำเนินงาน รพ.สต. ง. กำหนดวิธีการสนับสนุนการดำเนินงาน รพ.สต.
ก. การปรับจำนวนบุคลากร ตามขนาด รพ.สต.(S/M/L) เจ้าหน้าที่+ลูกจ้าง รวม (คน) หมายเหตุ S 4 จ้างลูกจ้างทั่วไปได้ 1 M1 5 ประชากรไม่เกิน 5,000 คน M2 6 ประชากรมากกว่า 5,000 คน L 8 จ้างลูกจ้างทั่วไปได้ 2 หมายเหตุ – หากมีความจำเป็นจ้างลูกจ้างเพิ่ม ให้มีการบริหารจัดการภายใน รพ.สต. เอง - ลูกจ้างทั่วไป ไม่รวมถึง พสอ.และลูกจ้างนักเรียนทุน
ข. กำหนดประเภทค่าใช้จ่ายการดำเนินงานที่สนับสนุน รพ.สต. ค่าตอบแทน ค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้สอย -ค่าตอบแทนนอกเวลา (OT) -ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว -ค่าตอบแทนเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย -ค่าไฟฟ้า -ค่าน้ำประปา -ค่าโทรศัพท์ -ค่าบริการ internet -ค่าวัสดุทั่วไป/ วัสดุสำนักงาน
ค.แนวคิด –การกำหนดแหล่งงบประมาณที่สนับสนุน การดำเนินงาน รพ.สต. ค.แนวคิด –การกำหนดแหล่งงบประมาณที่สนับสนุน การดำเนินงาน รพ.สต. on-top งบ PP เงินตามผลงานต่างๆ เช่น - OP/IP individual - P&P คุณภาพบริการระดับปฐมภูมิ - แพทย์แผนไทย อาจจะ 50:50 ผลงาน : งบดำเนินการ รพ.สต.
ค. สรุป - งบที่นำมาสนับสนุนจริง ประจำปี 56 ประเภทงบประมาณ สนับสนุนพัฒนาระบบข้อมูล OP/PP รายบุคคล P&Pคุณภาพบริการระดับปฐมภูมิ (ตามตัวชี้วัด) ส่งเสริมบริการปฐมภูมิ (on- top) PPE _Quality Performance (7.50) โครงการPP_รพ.สต. หน่วยละ 80,000
แหล่งงบประมาณอื่น เงินเดือนลูกจ้างชั่วคราว ในกรณีลูกจ้างที่เป็น นักเรียนทุน/พสอ. ได้รับจัดสรรจากงบเหมาจ่ายรายหัว โดย สปสช. ได้จัดสรรผ่าน CUP ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย ให้เบิกจากเงินงบประมาณ โดยรอคำสั่งของกระทรวงสาธารณสุข ค่า Internet ได้รับสนับสนุนจาก กระทรวง ICTแล้ว ปฏิบัติงานล่วงเวลา(OT) หากมีการปฏิบัติงานจริง ให้เบิกได้ไม่เกิน 6,000 บาท /เดือน
ง. กำหนดวิธีการสนับสนุนการดำเนินงาน รพ.สต. แบ่งเป็น 4 ไตรมาส ไตรมาส 1 (ตค. –ธค. 55) 1.1 ในระยะที่เกิดวิกฤตทางการเงิน ขอให้ทุกหน่วยบริการ งด - การศึกษาดูงานนอกพื้นที่ หรือต่างจังหวัด - การซื้อครุภัณฑ์/ซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างหรือปลูกสร้างใหม่ ยกเว้น การใช้งบ ลงทุน ให้เป็นไปตามแผนงบลงทุน 1.2 ให้หน่วยบริการ (CUP) จ่าย - เงินเดือนลูกจ้าง และ OT เจ้าหน้าที่ของ รพ.สต. แต่ละแห่ง ตามความ เป็นจริง เพราะเป็นภาระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นไปแล้ว - ค่าสาธารณูปโภคและค่าใช้จ่ายอื่นๆแบบเหมาจ่าย เป็นเงิน 5,000 บาท/เดือน * 3 เดือน 15,000 บาท
สนับสนุน ร้อยละ 90 ของจำนวนเงิน ที่สนับสนุน ในไตรมาส 1 ไตรมาส 2 (มค.–มีค. 56) สนับสนุน ร้อยละ 90 ของจำนวนเงิน ที่สนับสนุน ในไตรมาส 1
ไตรมาส 3-4 (เมย.-กย.56) ประเภทงบประมาณ จำนวนเงิน PPE_Quality Performance (7.50) 12,531,429.17 งบส่งเสริมบริการปฐมภูมิ (on-top) 23,907,862.00 งบ OP Individual data 5,469,903.32 งบโครงการสร้างเสริมสุขภาพระดับตำบล 21,360,000.00 รวมทั้งสิ้น 63,269,194.49
*** รายละเอียดการจัดสรรเงิน ไตรมาส 3-4 *** ให้ คปสอ. พิจารณาปรับเกลี่ย เงิน 4 ประเภท แบบ “ เฉลี่ยทุกข์ เฉลี่ยสุข ” ระหว่างหน่วยบริการในพื้นที่ (รพ.สต.)
2. ระยะยาว 2. 1 พัฒนาขีดความสามารถ ของ รพ. สต. 2 2. ระยะยาว 2.1 พัฒนาขีดความสามารถ ของ รพ.สต. 2.2 มีการกระจายบุคลากร 2.3 กำหนดตัวชี้วัดในการดำเนินงาน 2.4 จัดสรรงบประมาณต้องเหมือนกัน เป็นมาตรฐานเดียวกัน ทั้งจังหวัด แบบเฉลี่ยทุกข์ เฉลี่ยสุข ร่วมกัน เริ่มมีการวางแผน – เก็บข้อมูล - วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกำหนดเป็นแนวทางการดำเนินงาน ปี 2557 โดย นพ. เติมชัย เต็มยิ่งยง