โฮมเธียเตอร์ HOME THEATER.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียน E-LEARNING
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
โรงเรียน บ้านบึงสามัคคีกำแพงเขต
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
Chapter 6 : Video.
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
ราคา 19,990 บาท Dell inspiron N V560837TH
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
เปิดโลกนอกกะลา.
ระบบการสื่อสารข้อมูล
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การสร้างเกมด้วยโปรแกรม Unity
นาย นนทกานต์ ปังตา เลขที่8
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(Holographic Versatile Disc )
สื่อและสิ่งอำนวยความสะดวกในการฝึกอบรม
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การนำเสนอสื่อประสม.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
วีดิทัศน์กับสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
1. งานบริการเคเบิ้ลทีวี 2. งานบริการโทรทัศน์วงจรปิด
เรื่อง การทำงานของคอมพิวเตอร์ สาระวิชา คอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ ๑
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
Menu ที่มาของ Blu-ray Disc ผู้พัฒนามาตรฐาน Blu-Ray คือใคร?
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ไม่ใช่อินเทอร์เน็ตทีวี
วัสดุไม่ตีพิมพ์.
การแบ่งประเภทของสื่อ
Charter 12 1 Chapter 12 อินเทอร์เน็ต Internet.
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง วิธีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และการออกหนังสือรับรองว่าเป็นผู้ผ่านการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
เครื่องโปรเจคเตอร์PROJECTOR
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท Notebook
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การถ่ายวีดีโอ.
แบบทดสอบก่อน-หลัง เรื่องคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
การจัดสเปคคอมพิวเตอร์
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
โดยใช้โปรแกรม Macromedia flash 8
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน/ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
การออกแบบการจัดสวนและตกแต่งภายในบ้าน
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
โลกเสมือนจริง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โฮมเธียเตอร์ HOME THEATER

โฮมเธียเตอร์ (Home theater หรือ Home cinema)

โฮมเธียเตอร์ โดยพื้นฐานจะประกอบด้วย อุปกรณ์แสดงภาพ แหล่งสัญญาณภาพ ระบบเครื่องเสียง

อุปกรณ์แสดงภาพและ แหล่งสัญญาณภาพ จอภาพโทรทัศน์หรือวิดีโอ มอนิเตอร์และแหล่งโปรแกรมกำเนิดสัญญาณภาพ หากเปรียบเทียบกับระบบโรงภาพยนตร์แล้ว ทีวีหรือมอนิเตอร์ก็เปรียบเสมือนจอผ้าใบ แหล่งโปรแกรม หากเปรียบเสมือนเครื่องฉายไฟอาร์ค ซอฟต์แวร์ต่างๆ เช่น วีดีโอคาสเส็ทท์ หรือแผ่นดิสก์ ที่บรรจุสัญญาณก็เปรียบเสมือนแผ่นฟิล์มเซลลูลอยด์ทั้งหมดประสานกันเป็นภาพเคลื่อนไหว มีเสียงเป็นสื่อผสมให้รับรู้เหตุการณ์หรือเรื่องราวโดยสมบูรณ์ขึ้น

ระบบเครื่องเสียง ส่วนมาก ผู้พัฒนาระบบเสียงจะเป็นผู้ที่คิดค้นระบบเสียงออกมาอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้เราเห็นระบบเสียงแปลกๆ ออกมาอยู่เรื่อย เช่น

Dolby Surround คือรูปแบบเสียงที่สร้างบรรยากาศเสียงให้เหมือน ภายในโรงภาพยนตร์ เครื่องเล่นวิดีโอและเลเซอร์ดิสก์

ระบบ DTS ระบบเสียงที่เซอราวนด์รอบทิศทาง ให้เสียงที่มิติ อีกทั้งระบบเสียงนี้สามารถที่จะให้เสียงที่มีพลังและมีความคมชัดที่ดี ซึ่งเป็นระบบเสียงคุณภาพสูงและมีอยู่ในอุปกรณ์ราคาแพงๆ ระบบเสียงแบบนี้จะพบได้ในระบบ DVD เหมาะสำหรับระบบโฮมเธียเตอร์ในปัจจุบัน

ระบบ THX คือมาตรฐานที่ใช้ในระบบ โฮมเธียเตอร์ ถือว่าเป็น ป้ายการันตีได้ว่า เครื่องเสียง , ลำโพง เหล่านั้น สามารถผ่านมาตรฐานต่างๆที่กำหนดไว้ สรุปก็คือ หากระบบเสียง ดิจิตอลในภาพยนตร์ เปรียบเสมือน แผ่นซีดี โรงภาพยนตร์ ระบบ THX ก็คือการได้ฟังแผ่นซีดี ผ่านเครื่องเสียง ชั้นเยี่ยม

จบการนำเสนอ โดย น.ส.กฤษณา กอนแก้ว ปวส.2/1 การบัญชี เลขที่ 2