งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3 จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ

2 คุยกันก่อน เริ่มมีการใช้คอมพิวเตอร์เป็นครั้งแรกเมื่อประมาณ ปี 2489
คอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วมาก มาจนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันในทุก ๆ ปีจะมีผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ใหม่ ๆที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นออกจำหน่ายเป็นจำนวนมาก

3 พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ยุคประวัติศาสตร์ ยุคหลอดสุญญากาศ ยุคทรานซิสเตอร์
ยุควงจรรวม ยุควีแอลเอสไอ ยุคเครือข่าย

4 พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ยุคประวัติศาสตร์ ยุคหลอดสุญญากาศ ยุคทรานซิสเตอร์
ยุควงจรรวม ยุควีแอลเอสไอ ยุคเครือข่าย

5 คอมพิวเตอร์ยุคประวัติศาสตร์
เครื่องคำนวณลูกคิด สร้างไม้บรรทัดคำนวณ เพื่อใช้คำนวณตำแหน่งของดวงดาว เครื่องคำนวณของปาสคาล เป็นเครื่องที่บวกเลข และลบด้วยกลไกเฟืองที่ขบต่อกัน เครื่องทอผ้าอัตโนมัติด้วยการใช้บัตรเจาะรู

6 1 3 ลูกคิด 2

7 คอมพิวเตอร์ยุคประวัติศาสตร์
เครื่องดิฟเฟอเรนซ์เอนจิน (difference engine) เครื่องคำนวณแบบมีหน่วยความจำและหน่วยคำนวณ เรียกว่า แอนาไลติคอลเอนจิน บริษัท IBM ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆของโลก IBM สร้างเครื่องคำนวณ มาร์ก วัน (Mark I) ขึ้น

8 มาร์ค วัน

9 คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการทำงานโดยเผาไส้หลอดให้เกิดประจุอิเล็กตรอนวิ่งผ่านแผ่นตารางแล้วใช้หลอดสุญญากาศควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนนั้น เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก มีชื่อว่า อินิแอค (Electronic Numerical Integrator And Calculator : ENIAC)

10 คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ
จอห์น มอชลี และ เจ เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ท เป็นผู้พัฒนาเครื่อง อินิแอค ขึ้น ในปี พ.ศ. 2486 จอห์น วอน นิวแมน เสนอแนวคิดในการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจำ หน่วยเก็บข้อมูลอยู่ในรูปของ บัตรเจาะรู จานแม่เหล็ก และเทปแม่เหล็ก

11 เครื่องอินิแอค

12 บัตรเจาะรู

13 คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์
สถานวิจัยเบลของสหรัฐอเมริกาได้ทำการประดิษฐ์ “ทรานซิสเตอร์” ได้สำเร็จ ทรานซิสเตอร์นี้ มีขนาดเล็ก ใช้กระแสไฟฟ้าน้อย มีความคงทน และ เชื่อถือสูง และราคาถูกว่าสุญญากาศ มีการเอาเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์กรต่าง ๆ มากขึ้น

14 คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์
เครื่องเมนเฟรม (mainframe) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ขนาดใหญ่ ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย IBM ในยุคนี้คอมพิวเตอร์เริ่มมีเข้ามาใช้ในประเทศไทย องค์การนาซา NASA ได้เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ ในการคำนวณและควบคุมยานอวกาศต่าง ๆ

15 คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม
สร้างทรานซิสเตอร์จำนวนมากลงบนแผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิคอนที่เรียกว่า ไอซี (Integrated Circuit : IC) เครื่องคอมพิวเตอร์มีการทำงานที่ซับซ้อนมากขึ้น มีวงจรการทำงานที่ทำการคิดคำนวณจำนวนเต็มได้หลายล้านครั้งต่อวินาที พัฒนาอุปกรณ์เก็บข้อมูลจากเทปแม่เหล็กมาเป็นฮาร์ดดิสก์

16 ไอซี

17 คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม
ในยุคนี้ คอมพิวเตอร์มีความจุมากขึ้นและทำงานได้เร็ว นอกจากนี้ยังทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง และราคาถูก คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง เรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์

18 เครื่องมินิคอมพิวเตอร์

19 คอมพิวเตอร์ยุค VLSI สร้างวงจรรวมที่มีขนาดใหญ่มาวางบนแผ่นซิลิคอนที่มีขนาดเล็กเรียกว่า วงจรวีแอลเอสไอ (Very Large Integrated Circuit : IC) วงจรวีแอลเอสไอ เป็นวงจรรวมที่นำทรานซิสเตอร์จำนวนล้านตัวมารวมในแผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก และผลิตมาเป็นหน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ที่ซับซ้อนเรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor)

20 คอมพิวเตอร์ยุค VLSI การผลิตไมโครโพรเซสเซอร์ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงกว่าเดิม เรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ วงจรวีแอลเอสไอ หรือที่เรียกว่า ชิป มีการผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Notebook) และคอมพิวเตอร์มือถือ(Palmtop) มีการใช้ซอฟต์แวร์สำเร็จในการทำงาน

21 ไมโครโปรเซสเซอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์

22 โน๊ตบุ๊ค ปาล์ม

23 คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย
เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถประมวลผล และแสดงผล ได้ครั้งละมากๆ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้หลายงานพร้อมๆกัน มีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หลายเครื่องให้ทำงานเป็นกลุ่มในองค์กรต่าง ๆ ใช้เครือข่ายท้องถิ่นเรียกว่า LAN

24 อินเตอร์เน็ต นักเรียนเล่นที่บ้าน LAN โรงเรียน คบ. LAN โรงเรียนคบ. 2

25 เทคโนโลยีสื่อประสม เป็นเทคโนโลยีที่ใช้คอมพิวเตอร์แสดงผลในลักษณะผสมสื่อหลายชนิดเข้าด้วยกัน ทั้งตัวอักษร ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ โดยเน้นการโต้ตอบ และมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้

26 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสื่อประสม
การใช้งาน คอมพิวเตอร์ การเชื่อมโยง ซอฟต์แวร์


ดาวน์โหลด ppt พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google