ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
เอื้อมพร ธาตุทำเล.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
การใช้โครงงานภาษาอังกฤษ เรื่อง
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
LOGO การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนการ สอนในราย วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 (3201 – 2004) เรื่องการบันทึกบัญชีที่ไม่สมบูรณ์ ของนักศึกษาระดับ ชั้น ปวส.2 สาขาการบัญชี
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเก็บเอกสาร ของผู้เรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช. 206 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ผู้วิจัย นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือ แบบ Jigsaw ตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 จำนวน 2 ห้องเรียน ช่างยนต์ 101 และช่างยนต์ 102 ที่กำลังเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ช่างยนต์ 102 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 ที่กำลังเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 จำนวน 28 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Random Sampling)

ผลวิเคราะห์และตารางที่สำคัญ ทำการวิเคราะห์ข้อมูล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw ซึ่งศึกษาได้ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw   คนที่ การประเมิน D D2 ก่อนเรียน หลังเรียน 1-28. 410 735 325 6177 N = 28 X = 22.77 S.D. = 3.64 X = 40.83 S.D. =3.75 ΣD = 325 ΣD2 = 6,177

จากตารางที่ 1 พบว่า คะแนนประเมินผลก่อนเรียนของนักศึกษา มีค่าเฉลี่ย 22 จากตารางที่ 1 พบว่า คะแนนประเมินผลก่อนเรียนของนักศึกษา มีค่าเฉลี่ย 22.77ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.64 ส่วนการประเมินผลหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย 40.83 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.75 ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนมีค่า ΣD 325 เมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพ แล้วพบว่ามีค่าอยู่ในระดับดี เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง ของคะแนนการประเมินก่อนเรียนและหลังเรียน ผู้วิจัยใช้ค่าสถิติ t - testสำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกันผลการวิเคราะห์ดังกล่าวปรากฏในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 แสดงผลสัมฤทธิ์รายวิชางานฝึกฝีมือ 1 ใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw t 0.01= 2.92 จากตารางที่ 2 พบว่าผลสัมฤทธิ์รายวิชางานฝึกฝีมือ 1 เมื่อตรวจสอบความแตกต่างของคะแนนการประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย t- test พบว่าค่า t 3.01 ซึ่งมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 จึงอาจกล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ผลการวิเคราะห์การใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw ที่ครูใช้ตามแผนการสอนที่ 3 คือการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw)มีผลสัมฤทธิ์รายวิชางานฝึกฝีมือ 1 สูงขึ้นจริงตามสมมุติฐาน การประเมินผล N คะแนนเต็ม SD % of Mern t - test หลังเรียน 28 50 3.75 86.54 3.01

สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw คะแนนประเมินผลก่อนเรียนของนักศึกษา มีค่าเฉลี่ย 22.77ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.64 ส่วนการประเมินผลหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย 40.83 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.75 ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนมีค่า ΣD 325 เมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพ แล้วพบว่ามีค่าอยู่ในระดับดี เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง ของคะแนนการประเมินก่อนเรียนและหลังเรียน ผู้วิจัยใช้ค่าสถิติ t - testสำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกันผลการวิเคราะห์ดังกล่าว

ปรากฏในตารางที่ 2 พบว่าผลสัมฤทธิ์รายวิชางานฝึกฝีมือ 1 เมื่อตรวจสอบความแตกต่างของคะแนนการประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย t- test พบว่าค่า t 3.01 ซึ่งมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 จึงอาจกล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ผลการวิเคราะห์การใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw ที่ครูใช้ตามแผนการสอนที่ 3 คือการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw มีผลสัมฤทธิ์รายวิชางานฝึกฝีมือ 1 สูงขึ้นจริงตามสมมุติฐาน

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบJigsaw สามารถนำไปพัฒนาการจัดกิจกรรมเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ จึงเหมาะที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ต่อไป ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป ควรให้ผู้เรียนเอาใจใส่และรับผิดชอบ จะส่งผลให้ผลงานและการ เรียนรู้ไม่ประสบความสำเร็จ ควรมีการเตรียมการและต้องดูแล ช่วยเหลือเอาใจใส่กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างใกล้ชิด