แผนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมปี ๒๕๕๙

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
สถานการณ์ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม. สถานการณ์การออกเทศบัญญัติ / ข้อกำหนด เทศ บัญญัติ / ข้อกำหน ด กาฬสินธุ์ (%) ขอนแก่ น (%) มหาสารคา ม (%) ร้อยเอ็ ด (%)
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
EHA กรมอนามัย การดำเนินงานของกลุ่ม อวล + เลขานุการอสธจ. การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ข้อมูล ให้ความรู้ ปกป้องสิทธิ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมปี ๒๕๕๙ จังหวัดตราด

สถานการณ์ด้านสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ โรคติดต่อในระบบทางเดินอาหารและน้ำ สถานการณ์โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สถานการณ์การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม Clean Food Good Taste ส้วม HAS คุณภาพน้ำประปา (คลอรีนอิสระตกค้าง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย) ผลการตรวจสอบเหตุรำคาญ , กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การดำเนินการตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕

สถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษจังหวัดตราดเปรียบเทียบประเทศไทยปี2546-2557 อัตราต่อแสนประชากร ที่มา:สำนักระบาดวิทยา อัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษสูงกว่าประเทศไทยทุกปี

13 จังหวัดแรกที่มีอัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษสูงในประเทศไทยปี 2557 อัตราต่อแสนประชากร ที่มา:สำนักระบาดวิทยา

อัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษ จังหวัดตราดปี 2553-2557 จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร ที่มา:รง.506 งานระบาดวิทยา

อัตราต่อแสนประชากร

สัดส่วนผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษจังหวัดตราด ปี 2557 จำแนกตามอำเภอและเชื้อชาติ ร้อยละ ที่มา:รง.506 งานระบาดวิทยา

สถานการณ์โรคอุจจาระร่วงจังหวัดตราดเปรียบเทียบประเทศไทยปี2546-2557 อัตราต่อแสนประชากร ตั้งแต่ปี 2552 อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ที่มา:สำนักระบาดวิทยา

ร้อยละของระบบประปาหมู่บ้านในจังหวัดตราดที่มีคลอรีนอิสระตกค้างตามมาตรฐาน รายงานไตรมาส 3/2558

ผลการประเมินสุขาภิบาลในSettingต่างๆ ของจังหวัดตราด ปี2558 ร้อยละ

ความปลอดภัยของอาหาร ในแผงลอยจำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน ร้อยละ ข้อมูล ณ 10 สค.59

ผลการสุ่มตรวจด้านแบคทีเรียในงานสุขาภิบาลอาหาร โดยศูนย์อนามัยที่ ๓ ชลบุรี ร้านอาหาร พบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ภาชนะ ร้อยละ 16.67 อาหาร ร้อยละ 62.50 น้ำแข็ง ร้อยละ 50.00 ในตลาดประเภท 1 พบ พบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ภาชนะ ร้อยละ 100 อาหาร ร้อยละ 71.43 มือ ร้อยละ 85.71 ในตลาดประเภท 2 พบ พบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย น้ำแข็ง ร้อยละ 80 อาหาร ร้อยละ 79.25 มือ ร้อยละ 73.33

การตรวจสุขลักษณะโรงฆ่าสัตว์ Coliform Bacteria Positive Sallmonella Positive

๒๐ อันดับแรกของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตาม พ. ร. บ ๒๐ อันดับแรกของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ ในจังหวัดตราด ร้อยละ N = ๑,๔๗๗ สำรวจจาก อปท.๒๕ แห่ง

สถานการณ์โรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช แนวโน้มลดลง/ตราด อยู่อันดับ 3 ของประเทศ

ตราด ปี 2556 จำนวน 4 ราย อาชีพ เกษตรกร ข้าราชการ งานบ้าน นักเรียน

ผลการเจาะหาสารเคมีในเลือดของเกษตร ปี 2554-2558 ผลการเจาะหาสารเคมีในเลือดของเกษตร ปี 2554-2558 ร้อยละ ที่มา : รายงานผลการเจาะเลือดเกษตรกร ปี 2554-2558

ผลการเจาะเลือดเกษตรกรที่เสี่ยง ปี 2554-2558 แยกรายอำเภอ ร้อยละ ที่มา : รายงานผลการเจาะเลือดเกษตรกร ปี 2554-2558

การกำจัดขยะมูลฝอยของอปท.ในจังหวัดตราด ปี2558 N= 37

ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอย ข้อมูลขยะมูลฝอย ปริมาณ(ตันต่อวัน) ปริมาณมูลฝอย รวม 155 ปริมาณมูลฝอย ที่เก็บได้ 111 รีไซเคิล 24 มีขยะมูลฝอยตกค้างประมาณ 44 ตันต่อวัน หรือ 16,060 ตันต่อปี ประเภทอปท. มีการจัดเก็บ ร้อยละ ไม่มีการจัดเก็บ เทศบาล 10 90.9 1 9.1 อบต 16 61.5 38.5

การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค ข้อมูลจากฐานHos_xp แหล่งน้ำดื่ม การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค การจัดการขยะ

ข้อมูลแหล่งน้ำดื่มจำแนกตามประเภท อำเภอ 1 - น้ำฝน 2 - น้ำประปา 3 - น้ำบาดาล 4 - บ่อน้ำดื่ม 5 - สระน้ำ แม่น้ำ 6 - น้ำบรรจุเสร็จ 9 - ไม่ทราบ (ว่าง) ผลรวมทั้งหมด เมือง 4584 1929 5 45 47 7018 38 13666 คลองใหญ่ 803 247 1 10 815 1877 เขาสมิง 1584 232 159 897 23 2636 5531 บ่อไร่ 2572 46 6 745 183 3552 แหลมงอบ 1393 783 2 4 742 2925 เกาะกูด 3 7 เกาะช้าง 682 69 20 85 51 549 1456 15 1856 1871 11620 3306 195 1777 135 11958 1894 30885 ที่มา : 43 แฟ้ม สิงหาคม 2558

ข้อมูลจากแฟ้ม Village อำเภอ ร้านอาหาร(ร้าน) แผงลอยจำหน่ายอาหาร(แผง) ร้านขายของชำ(ร้าน) ถังเก็บน้ำฝน(แห่ง) เมืองตราด 35 179 64 คลองใหญ่ 3 37 2 เขาสมิง 10 258 27 บ่อไร่ 23 76 8 แหลมงอบ 17 55 13 1 เกาะกูด 4 เกาะช้าง 32 24 รวมทั้งหมด 123 633 118

ข้อมูลจากแฟ้ม Village อำเภอ ฟาร์มไก่(แห่ง) ฟาร์มสุกร(แห่ง) บ่อกำจัดน้ำเสีย/ที่กำจัดขยะ โรงงานอุตสาหกรรม(แห่ง) ชุมชนต่างด้าว(แห่ง) เมืองตราด 2 1 คลองใหญ่ เขาสมิง บ่อไร่ แหลมงอบ เกาะกูด เกาะช้าง รวมทั้งหมด 3 4

5 ก้าว สู่ 59 5 4 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 5 ก้าว สู่ 59 5 4 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและ อาชีวอนามัย พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมาย พ.ร.บ.การสาธารณสุข ๒๕๓๕ พัฒนาระบบการรับรองพื้นที่ที่มีการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐานของจังหวัดตราด

พัฒนาระบบเฝ้าระวังและเผยแพร่ สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อสื่อสารความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกับภาคีเครือข่าย จัดทำรายงานสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม ปีละ ๑ ครั้ง -อปท. -รพ./รพ.สต. -ร้านอาหาร/แผงลอย -ประปาหมู่บ้าน -สถานประกอบการ -เกษตรกร 1 เล่ม (จัดทำเป็นElectronic file) Social media ตุลาคม 2558 เพื่อตรวจวัดคุณภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม จัดหาชุดตรวจด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม -ชุดตรวจโคลิฟอร์มในน้ำ -ชุดตรวจโคลิฟอร์มในอาหาร -ชุดตรวจDO -ชุดตรวจPHในน้ำ -ชุดตรวจคลอรีน 50,000 บาท มีนาคม 2559 -เครื่องมือวัดเสียง

พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย อาหาร พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในกิจการเกี่ยวกับการท่องเที่ยว รับรองมาตรฐานกิจการเกี่ยวกับการท่องเที่ยว โรงแรม รีสอร์ท โฮมสเตย์ ร้านอาหาร 50 -ค่าป้ายรับรอง พ.ย.-ธ.ค. 58 (ประชุมชี้แจง ส.ค.58) เพื่อควบคุมคุณภาพมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร สุ่มตรวจร้านอาหาร/แผงลอยที่ผ่านเกณฑ์CFGT ร้านอาหาร/แผงลอย ที่ผ่านเกณฑ์ 70 -เบี้ยเลี้ยง -ค่าอาหาร ประชุมสรุป ไตรมาส 2-4 ไตรมาสละ 1 ครั้ง เพื่อบูรณาการอาหารปลอดภัยตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ประชุมคณะกรรมการ/ทำงานอาหารปลอดภัย คณะกรรมการ/ทำงาน อาหารปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยอาหารปลอดภัย พัฒนาถนนอาหารปลอดภัย ตลาดสดไร่รั้ง เพื่อพัฒนาสุขลักษณะของผู้สัมผัสอาหาร จัดทำสติกเกอร์ การล้างมือ ผู้สัมผัสอาหาร/ส้วมสาธารณะ

พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย น้ำ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา สนับสนุนการตรวจคลอรีนอิสระตกค้างในน้ำและโคลิฟอร์มแบคทีเรียในน้ำประปา ประปาหมู่บ้าน 180 - ไตรมาส ละ 1 ครั้ง เพื่อพัฒนาระบบการผลิตน้ำประปา ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างประปาหมู่บ้าน ผู้ดูแลประปาหมู่บ้าน 50 7,500 ประสานท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนงบประมาณพัฒนาระบบการผลิตและเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ อปท.ทุกแห่ง 43 เพื่อรับรองและส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพน้ำประปา จัดทำป้ายรับรองน้ำประปาปลอดภัยจังหวัดตราด ระบบประปาที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำประปาดิ่มได้ 10 15000 ส.ค.59

พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย ขยะมูลฝอย พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อพัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อให้เป็นไปตามกฎหมาย นิเทศแนะนำการจัดมูลฝอยติดเชื้อ -รพ./รพ.สต. -คลินิกคน/สัตว์ 73 ปีละ 2 ครั้ง เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกวิธี เพือลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ส่งเสริมให้มีหมู่บ้านจัดการขยะครบวงจร/จัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อลดโรค รพ./รพ.สต. ละ 1 หมู่บ้านเป็นอย่างน้อย คปสอ.จัดทำแผน

พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร เจาะเลือดหาโคลินเอสเตอเลสเปรียบเทียบผลจากแผ่นตรวจเบื้องต้น 500,000 งบพัฒนาจังหวัด เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีในการเกษตร ถอดบทเรียน -เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนางานอาชีวอนามัย -เพื่อพัฒนาคลินิคโรคจากการประกอบอาชีพ ประชุมคณะทำงาน อาชีวอนามัย

พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อสร้างหลักสูตรสำหรับอบรม อสม.เพื่อให้หน่วยบริการในพื้นที่ไปจัดอบรม -อสม.ใช้ชุดตรวจด้านสิ่งแวดล้อมได้ -มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ จัดทำหลักสูตร อสม.อนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้แทนจาก จนท.สส. ผู้แทน อสม. ผู้แทน อปท. 30 คน 4,500 บาท 2 ครั้ง พ.ย./ธ.ค.58

ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมาย พ.ร.บ.การสาธารณสุข ๒๕๓๕ วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อให้จนท.สส/อปท.มีความรู้เรื่องพ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535 และสามารถออกข้อบัญญัติได้ ประชุมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร พ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535 และจัดทำร่างข้อบัญญัติ -จนท.สส. -จนท.อปท. 100 คน 100,000 บาท มกราคม 2559 เพื่อปฏิบัติตาม พ.ร.บ.สส.2535 จัดทำบัตรประจำตัว จพ.สส. -จนท.สส. เพื่อพัฒนาและศึกษา การปฏิบัติตามพ.ร.บ.สส.2535 พัฒนา อปท.นำร่อง กม.อาหาร -อปท. 1 แห่ง -ผู้ประกอบการร้านอาหาร 30 10,000 บาท ก.พ.-เม.ย.59 เพื่อส่งเสริมการใช้พ.ร.บ.สส.2535 ประชุม อสธจ. -อสธจ. 20 60,000 บาท ปีละ2ครั้ง

แนวคิดการรับรอง อำเภออนามัยสิ่งแวดล้อมดี ชีวีปลอดโรค บริโภคปลอดภัย กิจกรรมตามนโยบาย -EHA -CFGT -สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัยกายใจเป็นสุข -มาตรฐานอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล อำเภอคัดเลือกตามบริบท/ความสนใจ - CFGT -การคัดกรองสารเคมีในเลือดของเกษตรกร - ส้วมHAS ในสถานที่ท่องเที่ยว กิจกรรมตามสภาพปัญหาของจังหวัดตราด -ประปาหมู่บ้าน (คลอรีนอิสระตกค้าง) -การคัดกรองสารเคมีในเลือดของเกษตรกร -ส้วมHAS ในสถานที่ท่องเที่ยว