งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
สรุปผลการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1/2559 คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ

2 คณะ 4 การพัฒนาระบบสนับสนุน
คณะ 4 การพัฒนาระบบสนับสนุน ด้านสุขภาพ 1. ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2. ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

3 1. ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
1. ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.1 การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทและน้ำแข็ง 1.2 การกำกับดูแลคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของนมโรงเรียน 1.3 การจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพผิดกฎหมาย 1.4 การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพของเขต 1.5 การดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคของจังหวัด 1.6 คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ได้รับการเฝ้าระวังและสถานพยาบาลที่ได้รับการดำเนินการตามกฎหมาย

4 1) การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทและน้ำแข็ง
ตัวชี้วัด ผลดำเนินการ หมายเหตุ 1. ร้อยละของสถานที่ผลิตน้ำบริโภคและน้ำแข็งบริโภคได้มาตรฐาน (เป้าหมาย ร้อยละ 100) ร้อยละ 100 จำนวนสถานที่ 144 แห่ง 2. ร้อยละของผลิตภัณฑ์น้ำบริโภคและน้ำแข็งบริโภคได้คุณภาพ อยู่ระหว่างดำเนินการ ผลิตภัณฑ์เป้าหมาย 80 ตัวอย่าง 3. ร้อยละของน้ำบริโภคและน้ำแข็งบริโภค ณ สถานที่จำหน่าย ได้มาตรฐาน (เป้าหมาย ร้อยละ 80) เป้าหมายตำบลละ 20 ตัวอย่าง

5 2) การกำกับดูแลคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของนมโรงเรียน
ตัวชี้วัด ผลดำเนินการ หมายเหตุ 1. ร้อยละของสถานที่ผลิตนมโรงเรียน ได้มาตรฐาน (เป้าหมายร้อยละ 100) ร้อยละ 100 มีสถานที่ผลิต 1 แห่ง (บริษัท ภูมอมิลค์ จำกัด) 2.ร้อยละของผลิตภัณฑ์ นมโรงเรียน ได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด (เป้าหมาย ร้อยละ 100) ผลิตภัณฑ์ 1 ตัวอย่าง (พาสเจอไรส์) 3. ร้อยละของโรงเรียน ผ่านมาตรฐานการจัดการ การเก็บรักษาตามระบบ Cold chain และความ ปลอดภัยของนมโรงเรียน (เป้าหมาย ร้อยละ 100) อยู่ระหว่าง ดำเนินการ ประเมิน ตาม Check list

6 3. การจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพผิดกฎหมาย
ตัวชี้วัด ผลดำเนินการ หมายเหตุ ร้อยละของโฆษณาด้านสุขภาพ ที่ผิดกฎหมาย ได้รับการจัดการ (เป้าหมาย ร้อยละ 100) อยู่ระหว่างการเฝ้าระวังฯ ตามแผน ยังไม่พบ การโฆษณา ผิดกฎหมาย

7 4) การดำเนินงานของอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพของเขต
4) การดำเนินงานของอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพของเขต เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน หมายเหตุ มีแผนยุทธศาสตร์ คบส.เขต/แผนปฏิบัติการงาน/โครงการพัฒนางาน คบส.ระดับเขต มีการประชุมครั้งที่ 1/2559 เมื่อ 9 ธ.ค. 58 จัดทำแผนยุทธศาสตร์ คบส.เขต/แผนปฏิบัติการงาน/โครงการพัฒนางาน คบส.ระดับเขต

8 5) การดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคฯ ของจังหวัด
5) การดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคฯ ของจังหวัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน หมายเหตุ มีการดำเนินการตามแผนคบส.จังหวัดและคณะกรรมการเป็นกลไกหลัก ในการดำเนินงาน คบส.ของจังหวัด - มีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพของจังหวัด - การจัดทำแผนปฏิบัติการและดำเนินการตามแผน

9 6.1) คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ได้รับ การเฝ้าระวังและตรวจมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน หมายเหตุ ร้อยละของคลินิก เวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ได้รับการเฝ้าระวังและตรวจมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (เป้าหมาย ร้อยละ 100) ร้อยละ 100 มี 4 แห่ง

10 6.2 สถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมายได้รับการ ดำเนินการตามกฎหมาย
6.2 สถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมายได้รับการ ดำเนินการตามกฎหมาย เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน หมายเหตุ ร้อยละของ เรื่องร้องเรียนสถานพยาบาล ที่กระทำผิดกฎหมายได้รับการดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมายร้อยละ 100) ยังไม่มีเรื่องร้องเรียน มีกระบวนการในการรับเรื่องและจัดการ

11

12

13 คณะที่ 4. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ประเด็นการตรวจราชการ : จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย และ มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยทั่วไปของอปท. ให้ถูกหลักสุขาภิบาล

14 สถานการณ์มูลฝอยติดเชื้อ
1. แหล่งกำเนิด รพศ. 1 แห่ง รพช. 15 แห่ง (รพ.สต.167 แห่ง) รวม 183 แห่ง 2. ปี 2557 มีปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ 1,177 กก./วัน ปี 2558 มีปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ 1,311 กก./วัน 3. ส่งกำจัดกับบริษัทเอกชน 2 แห่ง ได้แก่ บ.นามณรงค์ จ.ชัยภูมิ หจก.ส.เรืองโรจน์ จ.สระบุรี โดยใช้เอกสารกำกับการขนส่ง(Manifest System)ครบทุกแห่ง รพ. สังกัด กสธ. มีการจัดการมีการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อร้อยละ 93.75

15 สถานการณ์มูลฝอยทั่วไป
1. เทศบาล 36 แห่ง (ทม. 1 แห่ง ทต. 35 แห่ง) 2. ปริมาณมูลฝอยทั่วไป ตัน/วัน 3. ได้รับการกำจัด ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 4. นำไปใช้ประโยชน์ ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 34.91

16 ระบบข้อมูล 1. มีฐานข้อมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของสถานบริการสาธารณสุขแยกเป็นรายเดือน และรายสถานบริการครบถ้วน ( ตามแบบรายงานที่กำหนด ) 2. มีฐานข้อมูลการจัดการมูลฝอยทั่วไปของเทศบาลทุกระดับครบถ้วน ( ตามแบบรายงานที่กำหนด )

17 กลไกจากการประชุม อสธจ.
1. การประชุมครั้งที่ 6/2558 เมื่อวันที่ 27 พ.ค.58 มีมติให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดการมูลฝอย ตาม Roadmap คสช. และตามโครงการชัยภูมิเมืองสะอาด ชาญฉลาด คัดแยกขยะ สสจ.รับผิดชอบการกำจัดขยะติดเชื้อ 2. การประชุมครั้งที่ 7/2558 เมื่อวันที่ 28 กย.58 มีมติมอบหมายให้หน่วยงาน ควบคุม กำกับ การจัดการมูลฝอยติดเชื้อให้ได้มาตรฐาน ดังนี้ คลินิกเอกชน ให้ รพศ./รพช.ในพื้นที่เป็นหน่วยงานรับฝากขยะติดเชื้อส่งกำจัด สถานพยาบาลสัตว์ และคลินิกสัตว์ ให้ รพศ./รพช. เป็นหน่วยงานรับฝากขยะติดเชื้อส่งกำจัด

18 ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
ด้านจัดการขยะ(EHA : 4001) ปี 2558 1. เทศบาลทั้งหมด 36 แห่ง เข้าร่วมโครงการ 35 แห่ง คิดเป็นร้อยละ ผ่าน EHA 4001จำนวน 9 แห่ง ร้อยละ มีเทศบาลที่ออกเทศบัญญัติการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อจำนวน 1 แห่ง (ทต. เกษตรสมบูรณ์)

19 คณะที่ 4. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ประเด็นการตรวจราชการ: คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) มีมติและการติดตามมติจากที่ประชุม อสธจ.เพื่อขับเคลื่อนประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 2 เรื่อง

20 แผนการจัดประชุม อสธจ. ปี 2559 กำหนดประชุม อสธจ. 4 ครั้ง ดังนี้
ปี กำหนดประชุม อสธจ. 4 ครั้ง ดังนี้ - ประชุมครั้งที่ 1 เดือน มีนาคม - ประชุมครั้งที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2559 - ประชุมครั้งที่ 3 เดือนกรกฎาคม - ประชุมครั้งที่ 4 เดือน กันยายน

21 ปี 2558 สนับสนุนการดำเนินงานตามประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม
โดยได้เสนอที่ประชุมอสธจ.รับทราบ มีมติ และดำเนินการ ดังนี้ ประเด็น มติ/ผลการดำเนินงาน 1.การจัดการขยะมูลฝอยทั่วไป 1. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควบคุมการจัดการมูลฝอยแต่ละประเภท ตาม Roadmap สสจ.รับผิดชอบควบคุมกำกับขยะติดเชื้อ (6/2558) 2.การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 2.1 สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งดำเนินการได้ตามกฎกระทรวงโดยที่ รพศ./รพช. เป็นจุดรับกำจัดขยะติดเชื้อ ของ รพ.สต.ในพื้นที่ 2.2 คลินิกเอกชน คลินิกสัตว์ ส่งกำจัดบริษัทเอกชน พร้อมกับ โรงพยาบาลโดยให้ รพศ/รพช.ในพื้นที่ เป็นจุดรับส่งกำจัดโดยคิดมูลค่า 2.4.มติ อสธจ.ให้เทศบาลทุกแห่ง ออกเทศบัญญัติควบคุมการจัดการมูลฝอยติดเชี้อในท้องถิ่นของตนเอง (7/2558)

22 ได้เสนอที่ประชุมอสธจ.รับทราบ มีมติ และดำเนินการ
ประเด็น มติ/ผลการดำเนินงาน 3.การจัดการสิ่งปฏิกูล 3.ให้ อปท.ทุกแห่งพิจารณาออกใบอนุญาตเก็บขนสิ่งปฎิกูลให้เอกชนต้องระบุแหล่งกำจัดและวิธีการกำจัดที่ถูกสุขลักษณะไว้ในใบอนุญาตอย่างชัดเจนและมีการควบคุมให้เป็นไปตามข้อกำหนดท้องถิ่น(2/2557)

23 เสนอที่ประชุมอสธจ.รับทราบ มีมติ และดำเนินการ
ประเด็น มติ/ผลการดำเนินงาน 4.การจัดตั้งคณะทำงาน ตาม พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 4.แต่งตั้งคณะทำงานตาม พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 ตามอำนาจของ อสธจ.เพื่อติดตามการปฏิบัติตามมติ อสธจ. และตรวจสอบ/แก้ปัญหา การร้องเรียนเหตุรำคาญ ของประชาชน (7/2558) 5. การดำเนินงานอาหารปลอดภัย 5.1 ให้รณรงค์ ลด ละเลิกการใช้โฟมบรรจุอาหารในหน่วยงานราชการ อปท.จังหวัดชัยภูมิ โดยทำเป็นประกาศจังหวัดชัยภูมิ ลงนามโดยท่านผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ (7/2558) 5.2 สำหรับหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งขอความร่วมมือให้ ลด ละ เลิก ใช้โฟม บรรจุอาหาร เพื่อสนองตอบต่อนโยบายกระทรวง

24

25

26

27

28

29

30

31

32 ปี 2558สนับสนุนการดำเนินงานตามประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมของจังหวัด
โดยได้เสนอที่ประชุมอสธจ.รับทราบ มีมติ และดำเนินการ ดังนี้ ประเด็น มติ/ผลการดำเนินงาน 5. การดำเนินงานอาหารปลอดภัย(ต่อ) 5.3 ขอความร่วมมือชมรมผู้ประกอบการร้านอาหารจังหวัดชัยภูมิ ในการรณรงค์ ลด ละ เลิก ใช้โฟม บรรจุอาหาร 5.4 เร่งรัดให้ ท้องถิ่นได้เสนอแผนปรับปรุงตลาดสดของท้องถิ่นที่ไม่ได้ผ่านเกณฑ์ตลาดสด น่าซื้อ 3 แห่ง :นายกเทศบาลเมืองชัยภูมินายกเทศบาลบ้านเพชร นายก อบต.หนองบัวบาน ( 6/2558) 5.5.ให้ อปท.ที่มีกิจการตู้น้ำหยอดเหรียญในพื้นที่ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ควบคุมกิจการในพื้นที่ (6/2558)

33 ประเด็น มติ/ผลการดำเนินงาน
ได้เสนอที่ประชุมอสธจ.รับทราบ มีมติ ประเด็น มติ/ผลการดำเนินงาน 6. การพัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท.(EHA) 6.มติ อสธจ.ให้เทศบาลทุกแห่ง สมัครเข้ารับการประเมินการพัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA) 6/2558

34 ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ
ปัญหาอุปสรรค เจ้าพนักงานสาธารณสุขและเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามพ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในการบังคับใช้ ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ พัฒนาศักยภาพจพง.ท้องถิ่นในการ.ออกข้อกำหนดของท้องถิ่นตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุขพ.ศ. ๒๕๓๕และจพง.สธ./ท้องถิ่น การบังคับใช้กฎหมายด้านการจัดการมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ

35 ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ
ปัญหาอุปสรรค ระบบข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของอปท. ยังขาดการวิเคราะห์ครบทุกประเด็น ยังไม่มีการเชื่อมโยงทุกระดับเพื่อนำไปใช้ประโยชน์เต็มที่ ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ ควรมีการวิเคราะห์และใช้ประโยชน์จากข้อมูล สถานการณ์ฯเพื่อนำเป็นประเด็นเข้าสู่ที่ประชุมอสธจ. อย่างน้อย 2เรื่องต่อครั้ง

36 ปัญหาอุปสรรค โปรแกรมการนำเข้าข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อผ่านเว็บไซต์ ยังไม่สามารถจัดทำข้อมูล/สถานการณ์มูลฝอยติดเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ - ร่วมกับรพ.ประเมินรับรองบริษัท เก็บขน และกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ และกำหนดมาตรฐานฯในสัญญาจ้าง รพ.จัดทำทะเบียนคุม การรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อจากสถานบริการสาธารณสุข

37 ขอขอบคุณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ / สบส.เขต 9 กรมอนามัย / ศูนย์อนามัยที่ 9 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ / ศวก. นครราชสีมา


ดาวน์โหลด ppt คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google