งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
สรุปผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจติดตาม เสนอผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2562 ผู้ให้ข้อมูล : ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรฉะเชิงเทรา (กรมวิชาการเกษตร) ศูนย์วิจัยข้าวฉะเชิงเทรา เกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

2 พื้นที่เกษตรอินทรีย์ที่ได้การรับรองในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ข้อมูลทั่วไป พื้นที่เกษตรอินทรีย์ที่ได้การรับรองในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน่วยงาน เป้าหมาย (ไร่) ผลการดำเนินงาน (ไร่) ร้อยละ กรมวิชาการเกษตร 292.50 13.5 4.62 กรมการข้าว 686.25 100 รวม 978.75 699.75 71.5  - กวก : พื้นที่ ไร่ (พืชผสมผสาน ไร่ และ ไผ่ ไร่) - กข : พื้นที่ ไร่ (ข้าว)

3 เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ (PGS ขั้น1, 2 และ 3)
ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ (PGS ขั้น1, 2 และ 3) กิจกรรม : อบรมเกษตรกร หน่วยงาน เป้าหมาย (ราย) ผลการดำเนินงาน (ราย) ร้อยละ เกษตรจังหวัด 50 100 ส.ป.ก. 20 24 120 รวม 70 74 105.7 * เกษตรกร PGS กลุ่มขั้น 1 ส.ป.ก. จัดฝึกอบรมเพื่อเพิ่มเสริมศักยภาพการผลิตเกษตรอินทรีย์ โดยใช้กระบวนการโรงเรียนเกษตรกร เรียนรู้และฝึกปฏิบัติ จัดทำต้นแบบการผลิตเกษตรอินทรีย์ แปลงเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิก

4 ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ (PGS ขั้น1, 2 และ 3) (ต่อ) กิจกรรม : พัฒนาเกษตรกรสู่การรับรองมาตรฐาน กวก. : แปลงไผ่ตง หมู่ 9 ต.ท่าตะเกียบ อ.ท่าตะเกียบ เป้าหมาย 31 แปลง ประเมิน เบื้องต้นเพื่อเข้าสู่ระยะปรับเปลี่ยน โครงการข้าวอินทรีย์ (T1) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีเป้าหมายจำนวน 43 ราย ซึ่งมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการแล้ว 43 ราย เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวบ้านหนองแสง ได้รับการตรวจประเมินระยะปรับเปลี่ยน ขณะนี้อยู่ระหว่างรอผลการตรวจประเมิน

5 การเบิกจ่ายงบประมาณ หน่วยงาน งบประมาณ (บาท) เบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ กวก.
43,040 รอดำเนินการ กข. 100,000 55,716 55.7 เกษตรจังหวัด 80,000 60,000 75 ส.ป.ก. 23,000 100 รวม 246,040 138,716 56.4 ** หมายเหตุ : งบปกติของหน่วยงาน

6 เกษตรกรกลุ่ม PGS กลุ่มขั้นที่ 1 ที่ได้รับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ และปฏิบัติตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 *อธิบายขั้นตอนการดำเนินงาน ส.ป.ก. ฝึกอบรมเพื่อเสริมศักยภาพการผลิตเกษตรอินทรีย์ โดยใช้กระบวนการโรงเรียนเกษตรกร เรียนรู้และฝึกปฏิบัติฯ จัดทำแบบการผลิตพืชอินทรีย์ แปลงเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิก

7 ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามแผนการตรวจประเมินระบบ
การผลิตข้าวอินทรีย์เบื้องต้น (T1) *อธิบายขั้นตอนการดำเนินงาน กกข ทำการรับสมัคร ผ่านขั้นตอนการรับรองจากคณะกรรมการอำนวยการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญและการแก้ไขปัญหาภาคเกษตรจังหวัด COO กรมอนุมัติให้จัดอบรม 2 ครั้ง ในระบบ ICS มีเป้าหมายในการตรวจประเมินเบื้องต้น เมื่อผ่านจะได้รับการตรวจประเมินโดยกรมการข้าว หรือผู้ตรวจประเมินภายนอก ทบทวนผลการตรวจประเมิน รับรอง แจ้งผลการตรวจประเมิน

8 การดำเนินงานในภาพรวมแบบบูรณาการ
กสก. และ กวก. กรมส่งเสริมการเกษตรทำการรับสมัครคัดกรองเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ กรมวิชาการเกษตรทำหน้าที่ในการตรวจรับรองแหล่งผลิตพืชอินทรีย์ กสก. และ กกข. กรมส่งเสริมการเกษตรรับสมัครคัดกรองเกษตรกรเข้าร่วมโครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืนกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวอินทรีย์ (ข้าวอินทรีย์ 1 ล้านไร่) กรมการข้าวทำหน้าที่ในการตรวจรับรองแหล่งผลิตข้าวอินทรีย์

9 การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการจากพื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 (ต่อ)
กวก. กลุ่มขั้น 1 กิจกรรม : อบรมเกษตรกร ผลการดำเนินงาน : ดำเนินการอบรมให้กับเกษตรกรแปลงใหญ่ผัก หมู่ 1 ตำบลหนองยาว อำเภอพนมสารคาม จำนวน ๓๐ ราย กิจกรรม : พัฒนาเกษตรกรสู่การรับรองมาตรฐาน ผลการดำเนินงาน : กรมส่งเสริมการเกษตรส่งใบสมัครขอการรับรอง GAP ไผ่ตงให้ กรมวิชาการเกษตร จำนวน 31 แปลง หมู่ 9 ต.ท่าตะเกียบ อ.ท่าตะเกียบ เข้าสู่ระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 31 ราย ขณะนี้อยู่ระหว่างรอการตรวจประเมินเบื้องต้น

10 การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการจากพื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 (ต่อ)
กวก. (ต่อ) กลุ่มขั้น 2 กิจกรรม : แปลงต้นแบบการผลิตพืชอินทรีย์ ผลการดำเนินงาน : เข้าทำแปลงต้นแบบในพื้นที่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวชุมชนบ้านหนองแสง อ.สนามชัยเขต ที่มีการปลูกพืชผักผสมผสาน เพื่อให้เป็นแปลงต้นแบบให้เกษตรกรในชุมชนเข้ามาเรียนรู้การผลิตพืชผักผสมผสานในระบบเกษตรอินทรีย์ ตามมาตรฐานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนินการในกลุ่มเกษตรกรที่ขอการรับรองข้าวอินทรีย์

11 การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการจากพื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 (ต่อ)
กวก. (ต่อ) กลุ่มขั้น 3 กิจกรรม : การตรวจรับรองมาตรฐาน ผลการดำเนินงาน : เกษตรกรผู้ปลูกไผ่ตง หมู่ 9 ต.ท่าตะเกียบ อ.ท่าตะเกียบ ได้รับการตรวจประเมินระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 31 ราย ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจประเมินเบื้องต้น

12 การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการจากพื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 (ต่อ)
กกข. เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวบ้านหนองแสง ได้รับการตรวจประเมินระยะปรับเปลี่ยน ขณะนี้อยู่ระหว่างรอผลการตรวจประเมิน กสก. เกษตรกรที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการทำเกษตรอินทรีย์ การผลิตสารชีวภัณฑ์ และลดการใช้สารเคมี

13 ผลที่คาดว่าเกษตรกรจะได้รับ
กวก เกษตรกรสามารถพัฒนาไปถึงขึ้นที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น เพื่อสร้างโอกาสด้านการตลาดให้แก่ผู้บริโภคที่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น และสามารถเพิ่มพื้นที่การเพาะปลูกพืชอินทรีย์และลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรได้เพิ่มขึ้น กกข เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ (อินทรีย์ 1 ล้านไร่ ปี 2561) ผ่านการตรวจประเมินขั้นเตรียมความพร้อม (T1) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60

14 ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
กวก ปัญหา/อุปสรรค - ปัญหาการจัดเก็บเอกสารที่ประกอบการตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์มีจำนวนมากมาก ส่งผลให้เกษตรกรผู้ขอการรับรองเก็บเอกสารไม่ครบถ้วน จึงมีผลกระทบต่อการให้การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ - ปัญหาการจัดการแปลงเพื่อเพิ่มผลผลิตไผ่ตงของเกษตรกร ถึงแม้ว่าการผลิตไผ่ตงจะไม่ต้องมีการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช แต่การผลิตไผ่ตงเพื่อให้ได้ปริมาณ และมีผลผลิตออกก่อนฤดู เกษตรกรยังจำเป็นต้องใช้ปุ๋ยเคมีในระบบการผลิต แต่การปรับเปลี่ยนไปสู่เกษตรอินทรีย์ก็ยังมีโอกาสสูงกว่าพืชชนิดอื่น ข้อเสนอแนะ การพัฒนาเกษตรกรสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เบื้องต้นนำเกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรองแปลงแบบ GAP ก่อนเพื่อสร้างโอกาสด้านการตลาด แล้วจึงยกระดับเกษตรกรไปสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ต่อไป

15 ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ (ต่อ)
กกข ปัญหา/อุปสรรค - เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวบ้านหนองแสง ปี 2561 มีเกษตรกรเสียชีวิต 1 ราย คือ นายสมยศ จันทร์รอด ทำให้ต้องมีการเปลี่ยนสมาชิกกลุ่มนี้ขึ้นมาแทน กสก ปัญหา/อุปสรรค เกษตรกรหลายรายมความสนใจในการทำเกษตรอินทรีย์แต่ด้วยสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออำนวยทำให้เกษตรกรไม่มามารถปฏิบัติได้


ดาวน์โหลด ppt โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google