27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย หลักเกณฑ์การคิดค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวเนื่องกับการฝากตราสารหนี้เป็นเงินสภาพคล่องระหว่างวัน (Custody Fee for ILF) 27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย
หัวข้อบรรยาย ความเป็นมา หลักการและวิธีการคำนวณค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ สำหรับบัญชีเพื่อ ILF ที่ ธปท. กำหนดเวลาในการเรียกเก็บ ตัวอย่าง Invoice และรายละเอียดประกอบ
ประกาศที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ ความเป็นมา ประกาศที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง ค่าธรรมเนียมและค่าปรับเกี่ยวข้องกับการใช้เงินสภาพคล่องระหว่างวัน ประกาศ ณ วันที่ 9 พฤษภาคม 2549 หนังสือ ของบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด (TSD) ที่ ศร.(ว) 958/2549 ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2549 ประกอบด้วย วิธีปฏิบัติบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เรื่องอัตราค่าธรรมเนียมค่าใช้จ่ายและค่าปรับที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในงานศูนย์รับฝาก (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2549 หลักการคำนวณค่าธรรมเนียมการรักษาหลักทรัพย์ ตัวอย่างการคิดค่าธรรมเนียมการรักษาหลักทรัพย์ประเภทที่มีอายุการรับฝาก น้อยกว่า 1 เดือน
อัตราค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ (ต่อเดือน) ความเป็นมา อัตราค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ (ต่อเดือน) ค่าธรรมเนียมของหลักทรัพย์ (ขั้นต่ำ) ที่ดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องตามกฎหมาย Liquidity reserve rate ล้านละ 0.25 ของยอดหลักทรัพย์(ขั้นต่ำ) ที่ดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง ตามกฎหมาย ค่าธรรมเนียมเป็น Tier rate 0 3 หมื่นล้านบาท = ล้านละ 0.75 > 3 หมื่นล้านบาท 5 หมื่นล้านบาท = ล้านละ 0.50 > 5 หมื่นล้านบาทขึ้นไป = ล้านละ 0.25
บัญชีที่คิดค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ TSD A B C PSG BOT-ILF BOT-RP BOT-Retail A A B B C C เสียค่าธรรมเนียมให้ TSD เสียค่าธรรมเนียมให้ ธปท. - บัญชี ILF ของสมาชิกแต่ละราย - บัญชี RP ของสมาชิกแต่ละราย ..n D ..n
หลักการคำนวณค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ สำหรับบัญชีเพื่อ ILF ที่ ธปท. ประเมินมูลค่าหลักทรัพย์ในบัญชี ILF ของสมาชิกแต่ละราย เพื่อนำไปคำนวณ ค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ (ตามวิธีประเมินของ TSD) คำนวณหลักทรัพย์(ขั้นต่ำ) ที่ดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องตามกฎหมาย (Liquidity reserve) ของแต่ละสถาบัน - ฐานเงินฝาก (งวดที่ 2 ของเดือนก่อนหน้า) คูณ 2.5% (เช่น คิดค่าธรรมเนียมเดือน พ.ย. จะใช้ฐานเงินฝากวันที่ 8-22 ของเดือน ตุลาคม) คำนวณค่าธรรมเนียมเก็บรักษาหลักทรัพย์ - Liquidity reserve rate (ถ้ามียอดหลักทรัพย์ที่ดำรงฯ ตามข้อ 2) - Tier rate การคิดค่าธรรมเนียมของยอดหลักทรัพย์(ขั้นต่ำ) ที่ต้องดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องฯ ของแต่ละสถาบัน คำนวณจากบัญชี ILF เป็นลำดับแรก ถ้ายังมียอดเกินจากมูลค่าหลักทรัพย์ในบัญชี ILF ธปท. จะนำไปคำนวณต่อให้สมาชิกในบัญชี RP ถ้ายังมียอดเกินจากมูลค่าหลักทรัพย์ในบัญชี RP ธปท. จะแจ้งยอดส่วนที่เกินให้ TSD เพื่อให้นำไปคำนวณต่อใน TSD port (proprietary portfolio account) แจ้งยอดค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ใน “ใบแจ้งเรียกเก็บค่าธรรมเนียมบาทเนต”
วิธีการคำนวณค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ ของสมาชิกแต่ละราย วิธีการคำนวณค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ ของสมาชิกแต่ละราย 1. ประเมินมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อคำนวณค่าธรรมเนียม - อายุการฝากเต็มเดือน - อายุการฝากน้อยกว่า 1 เดือน ฐานเงินฝาก คูณ 2.5 % A. 2. มูลค่าหลักทรัพย์รวม ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ B. มูลค่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ต้องดำรงสินทรัพย์ สภาพคล่องตามกฎหมาย Liquidity reserve 3. คำนวณมูลค่าหลักทรัพย์ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ แต่ละอัตรา โดย (2) มูลค่าหลักทรัพย์รวม หัก (B) มูลค่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ดำรงฯ ถ้า (B) มากกว่า (2) ธปท.จะนำส่วนที่เกินไปคิดต่อให้ในบัญชี RP ถ้ายังมีส่วนเกินอีก จะแจ้ง TSD ให้ไปคิดต่อใน TSD port 4. Invoice คิด Tier rate เฉพาะส่วนที่เกินยอดที่ต้องดำรง บวก คิด reserve rate เฉพาะส่วนที่ดำรงได้ใน ILF 6
ตัวอย่างการคำนวณ กรณี หลักทรัพย์ใน ILF มากกว่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ต้องดำรง Liquidity reserve 1. ประเมินมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อคำนวณค่าธรรมเนียม ISIN A 15 วัน (Face value x 15/30) = X1 ISIN B 12 วัน (Face value x 12/30) = X2 -ISIN C 30 วัน (Face value) = X3 -ISIN D 30 วัน (Face value) = X4 4 แสนล้าน คูณ 2.5 % A. คูณ 2.5 % ฐานเงินฝาก B. มูลค่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ต้องดำรง Liquidity reserve = 1 หมื่นล้าน 2. มูลค่าหลักทรัพย์รวม ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ X1 + X2 + X3 + X4 = 5 หมื่นล้าน 3. คำนวณมูลค่าหลักทรัพย์ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ แต่ละอัตรา = 1 หมื่นล้าน เสียค่าธรรมเนียม Reserve rate = 4 หมื่นล้าน เสียค่าธรรมเนียม Tier rate 4. Invoice = 30,000 บาท สำหรับบัญชีเพื่อ ILF 3 หมื่นล้าน คูณ ล้านละ 0.75 = 22,500 บาท 1 หมื่นล้าน คูณ ล้านละ 0.50 = 5,000 บาท Liquidity reserve 1 หมื่นล้าน คูณ ล้านละ 0.25 = 2,500 บาท บวก 7
ตัวอย่างการคำนวณ กรณี หลักทรัพย์ใน ILF น้อยกว่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ต้องดำรง Liquidity reserve 1. ประเมินมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อคำนวณค่าธรรมเนียม ISIN A 15 วัน (Face value x 15/30) = X1 ISIN B 12 วัน (Face value x 12/30) = X2 -ISIN C 30 วัน (Face value) = X3 -ISIN D 30 วัน (Face value) = X4 6 แสนล้าน คูณ 2.5 % A. คูณ 2.5 % ฐานเงินฝาก B. มูลค่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ต้องดำรง Liquidity reserve = 1.5 หมื่นล้าน 2. มูลค่าหลักทรัพย์รวม ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ X1 + X2 + X3 + X4 = 1 หมื่นล้าน 3. คำนวณมูลค่าหลักทรัพย์ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ แต่ละอัตรา = 1 หมื่นล้าน เสียค่าธรรมเนียม Reserve rate (ไม่เกินมูลค่ารวมที่มีใน ILF) นำ 5 พันล้าน ไปคำนวณต่อให้ใน RP และถ้ายังมีเหลืออีกจะแจ้ง TSD เพื่อไปคิดต่อใน TSD Port 4. Invoice = 2,500 บาท สำหรับบัญชีเพื่อ ILF ไม่มีค่าธรรมเนียม Tier rate Liquidity reserve 1 หมื่นล้าน คูณ ล้านละ 0.25 = 2,500 บาท บวก 8
กำหนดเวลา เริ่มคิดค่าธรรมเนียมเก็บรักษาหลักทรัพย์ เดือน พฤศจิกายน 2549 TSD ยกเว้นค่าธรรมเนียมเก็บรักษาหลักทรัพย์เป็นระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันเริ่มใช้ระบบ (15 พ.ค. 49 – 14 พ.ย. 49) เริ่มคิดค่าธรรมเนียมเก็บรักษาหลักทรัพย์ เดือน พฤศจิกายน 2549 ครั้งแรกคิด 16 วัน (15-30 พฤศจิกายน 2549) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมเก็บรักษาหลักทรัพย์ พร้อมกับค่าธรรมเนียมบาทเนต วันที่ 7 ของเดือนถัดไป สมาชิกสามารถเรียกดู Invoice ได้ประมาณวันที่ 5 ของเดือนถัดไป
ตัวอย่าง Invoice และรายละเอียดประกอบ
ตัวอย่าง Invoice และรายละเอียดประกอบ
ตัวอย่าง Report Name: Fee-BICCODE.HTM
ตัวอย่าง Report Name: CusFee-BICCODE.HTM