งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

2 ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
เพิ่มความเข้มข้นในส่วนของการบริหารความเสี่ยงโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัดมาตรการ โดยตัวชี้วัดที่มีระดับความเสี่ยงสูงสุด 5 ลำดับแรกตามตาราง SR 1 หน่วยงานต้องนำโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัดดังกล่าวอย่างน้อย โครงการหรือกิจกรรม มาบริหารความเสี่ยงในตาราง SR 2 เปลี่ยนวันที่กำหนดให้ส่งรายงานการบริหารความเสี่ยง ปรับขั้นตอนของการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน (แบบ ปย. 1 และแบบ ปย.2) ให้เชื่อมโยงกับทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร 2

3 สิ่งที่หน่วยงานจะต้องดำเนินการ

4 ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน การจัดทำตาราง SR 1 ค้นหา ระบุ ประเมิน และวางแผนการจัดการความเสี่ยงของ ตัวชี้วัดในมิติที่ 1 ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของ หน่วยงาน จัดลำดับความเสี่ยง รายงานผลความคืบหน้าของการจัดการความเสี่ยง แสดงหลักฐานการจัดการความเสี่ยงตามแผนการจัดการ- ความเสี่ยง ทุกตัวชี้วัด

5 ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน การจัดทำตาราง SR 2 พิจารณาความเสี่ยงระดับสูงสุด 5 ลำดับแรก เลือกโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัดที่มีความเสี่ยง ระดับสูงสุด 5 ลำดับแรกดังกล่าว อย่างน้อยจำนวน 3 โครงการ หรือกิจกรรม มากำหนดแผนการจัดการความเสี่ยง

6 ตาราง SR 2 ข้อมูลที่หน่วยงานต้องระบุ ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ/ กิจกรรม
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ/ กิจกรรม ความเสี่ยงของโครงการ/ กิจกรรม การควบคุมที่มีอยู่ในปัจจุบัน การประเมิน/ วิเคราะห์ความเสี่ยงที่เหลืออยู่ แผนการจัดการความเสี่ยง (วิธีการ/ ลักษณะ) กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง (ขั้นตอน) ตัวชี้วัดผลสำเร็จของการจัดการความเสี่ยง (อย่างน้อย 3 ตัวชี้วัดต่อ 1 โครงการหรือกิจกรรม) ผลความคืบหน้าของการจัดการความเสี่ยง รวมถึงตัวชี้วัดจัดการฯ สิ่งที่คาดหวังภายหลังจากการบริหารจัดการความเสี่ยง

7 ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (ต่อ)
ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (ต่อ) การรายงานความคืบหน้าของการบริหารความเสี่ยง หน่วยงานจัดทำตาราง SR 1 และ SR 2 ส่งตาราง SR 1 และ SR 2 จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ส่งรายงานให้ สตน. ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน ครั้งที่ 2 ส่งรายงานให้ สตน. ภายในวันที่ 5 พฤษภาคม 2561 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานประชุมพิจารณา ตาราง SR 1 และ SR 2 ก่อนส่งให้สำนักงานตรวจสอบภายใน พร้อมแนบรายงานการประชุมของคณะกรรมการฯ ของแต่ละครั้ง มาด้วย (อาจประชุมมากกว่า 2 ครั้งได้)

8 ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (ต่อ)
ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (ต่อ) การจัดทำและส่งรายงานการควบคุมภายใน จัดทำแบบ ปย. 1 และแบบ ปย. 2 ตามระเบียบคณะกรรมการ- ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 นำความเสี่ยงและการควบคุมตามทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร (Risk Register) ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน (อย่างน้อย 1 ความเสี่ยง) ไประบุไว้ในแบบ ปย.2 เพื่อปรับปรุง การควบคุม ส่งรายงานการควบคุมภายในดังกล่าว ให้สตน. ภายในวันที่ 15 ตุลาคม 2561

9 เกณฑ์การให้คะแนน x 100 แบบฟอร์ม SR 1
จำนวนตัวชี้วัดมิติที่ 1 ของหน่วยงานที่สามารถ แสดงหลักฐานของการจัดการความเสี่ยงตามกิจกรรม การจัดการความเสี่ยงได้อย่างครบถ้วนและสมบูรณ์ x 100 จำนวนตัวชี้วัดมิติที่ 1 ทั้งหมดในแผนฯ ที่หน่วยงาน นำมาบริหารความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม SR 1

10 เกณฑ์การให้คะแนน (ต่อ)
แบบฟอร์ม SR 2 จำนวนตัวชี้วัดผลสำเร็จของการจัดการความเสี่ยงของ ทุกโครงการ/ กิจกรรมที่หน่วยงานดำเนินการได้สำเร็จ ตามค่าเป้าหมาย x 100 ทุกโครงการ/ กิจกรรมที่หน่วยงานกำหนดในการ บริหารความเสี่ยง

11 เกณฑ์การให้คะแนน (ต่อ)
คะแนนรวม (เฉลี่ยผลสำเร็จของการจัดการความเสี่ยง) ผลรวมค่าร้อยละของผลสำเร็จตามแบบฟอร์ม SR 1 และ SR 2 2

12 การคำนวณผลคะแนนการประเมิน
ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 ผลคะแนนความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยง ≤ 80 85 90 95 100

13 การหักคะแนน (ประเด็นละ 2 คะแนน)
ไม่แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน องค์ประกอบของคณะกรรมการฯ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ไม่มีรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ หน่วยงาน หรือมีเพียง 1 ครั้ง ไม่จัดส่งหรือแนบรายงานการประชุมคณะกรรมการฯ ตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ไม่จัดทำแบบฟอร์ม SR 1 และ SR 2 หรือจัดทำแต่กรอกข้อมูล ไม่ครบถ้วน ไม่ส่งหรือส่งแบบฟอร์ม SR 1 และ SR 2 ให้สตน.ล่าช้ากว่า กำหนด ไม่ส่งหรือส่งแบบ ปย.1 และแบบ ปย.2 ล่าช้ากว่ากำหนด

14 เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณาประเมินผล :
เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณาประเมินผล : 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน 2. รายงานการประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน อย่างน้อยจำนวน 2 ครั้ง (2 ฉบับ) 3. แบบฟอร์ม SR 1 และแบบฟอร์ม SR 2 ที่มีข้อมูลครบถ้วนตามหัวข้อที่กำหนด 4. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปย.1) 5. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย.2) 6. เอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามีการดำเนินการตามกิจกรรมการจัดการความเสี่ยง (แบบฟอร์ม SR 1) สำหรับความเสี่ยงทุกตัวในแต่ละตัวชี้วัด 7. เอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามีการดำเนินการตามแผนการจัดการความเสี่ยงของ โครงการ/ กิจกรรม และตัวชี้วัดผลสำเร็จของการจัดการความเสี่ยง (แบบฟอร์ม SR 2) ได้บรรลุตามเป้าหมาย 8. แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของหน่วยงาน

15 ขอบคุณ ติดต่อสอบถาม กลุ่มพัฒนางานตรวจสอบภายใน สำนักงานตรวจสอบภายใน โทร โทร.ภายใน


ดาวน์โหลด ppt ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google