การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
คำสั่งกรมส่งเสริมการเกษตร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ทิศทางการดำเนินงาน สุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ปี 2557
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
เกณฑ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาว
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561

ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 ผลการดำเนินงานของจังหวัดน่าน เป้าหมาย ผลการดำเนินงานของจังหวัดน่าน ร้อยละ 75 ของโรงพยาบาล พัฒนาได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ระดับพื้นฐาน โรงพยาบาลพัฒนาได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ดังนี้ - ผ่านเกณฑ์ 14 แห่ง (ร้อยละ 93.33) - ระดับดีมาก = 1 (6.67%) - ระดับดี = 5 (33.33%) - ระดับพื้นฐาน = 8 (53.33%) ไม่ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน 1 แห่ง (6.67%) รพ. สองแคว - การจัดการขยะติดเชื้อ (กำหนดเส้นทางการขนย้าย) - สุขาภิบาลอาหาร (การระบายอากาศ, การกำหนดจุดล้างภาชนะ และวัตถุดิบ)

เกณฑ์การประเมิน GREEN and CLEAN ระดับพื้นฐานดำเนินการตามขั้นตอน (10 ข้อ) ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างกระบวนการพัฒนา 1. มีการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนการขับเคลื่อน พัฒนาศักยภาพ และสร้างกระบวนสื่อสารให้เกิดการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม GREEN&CLEAN hospital อย่างมีส่วนร่วมของคนในองค์กร ขั้นตอนที่ 2 จัดกิจกรรม GREEN G: GARBAGE 2. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 3. มีการคัดแยกมูลฝอยทั่วไป คือ มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ มูลฝอยอื่นๆ ไปยังที่พักรวมมูลฝอยอย่างถูกสุขลักษณะ R: RESTROOM 4 มีการพัฒนาส้วมมาตรฐานสะอาด เพียงพอ และปลอดภัย ที่อาคาร ผู้ป่วยนอก E: ENERGY 5. มีมาตรการประหยัดพลังงานที่เป็นรูปธรรมเกิดการปฏิบัติตามมาตรการ ที่กำหนดร่วมกันทั้งองค์กร

เกณฑ์การประเมิน GREEN and CLEAN ENVIRONMENT 6. มีการจัดสิ่งแวดล้อมทั่วไปทั้งภายในและภายนอกอาคาร โดยเพิ่มพื้นที่สีเขียว และพื้นที่พักผ่อนที่สร้างความรู้สึกผ่อนคลายสอดคล้องกับชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่นสำหรับผู้ป่วยรวมทั้งผู้มารับริการ 7. มีการส่งเสริมกิจกรรมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีแบบองค์รวม ได้แก่ กิจกรรมทางกาย (Physical activity) กิจกรรมให้คำปรึกษาด้านสุขภาพขณะรอรับบริการของผู้ป่วยและญาติ NUTRITION 8. สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาลได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย ในระดับพื้นฐาน 9. ร้อยละ 80 ของร้านอาหารในโรงพยาบาลได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย 10. จัดให้มีบริการน้ำดื่มสะอาดที่อาคารผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน หน่วยงานหลัก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน แผนงาน การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม โครงการ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม GREEN & CLEAN Hospital ปี 2561 เป้าหมาย : โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ตัวชี้วัด : โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดี ร้อยละ 20 โดยมีโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมากอย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน จ.น่าน มีโรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 14 แห่ง โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม 1 แห่ง และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 147 แห่ง จากการประเมิน GREEN & CLEAN Hospital พบว่า มีโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก จำนวน 1 แห่ง ระดับดี จำนวน 4 แห่ง ระดับพื้นฐาน จำนวน 9 แห่ง ไม่ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน 1 แห่ง ยุทธศาสตร์/ มาตรการ Strategy 1 พัฒนาระบบข้อมูลพื้นฐาน Strategy 2 พัฒนาระบบบริการ การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและนวัตกรรม Strategy 3 สร้างเครือข่ายสู่ชุมชน กิจ กรรมหลัก 1.ประเมินตนเองตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital (ส่ง 20 ธค. 60) 2.วางแผนพัฒนา GREEN & CLEAN Hospital (ทบทวน พัฒนา ปรับปรุง ) 1.พัฒนา GREEN & CLEAN Hospital - การจัดการขยะ/มูลฝอยติดเชื้อ - การจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย 2.ส่งเสริมนวัตกรรมชุมชน การจัดการปัญหาสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในสิ่งแวดล้อม ( N : อาหารปลอดภัย) 1.สร้างเครือข่ายพัฒนา GREEN & CLEAN Hospital 2.ส่งเสริมให้เกิด Green Community ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 รพ.ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 93.33 ไตรมาส 2 ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 100 ไตรมาส 3 ระดับดี ร้อยละ 53.33 (8 แห่ง) ไตรมาส 4 - รพ.ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมาก จำนวน 5 แห่ง - มีตำบลที่มีศักยภาพจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Green Community) อย่างน้อย 20 ตำบล

แนวทางการพัฒนา GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ไตรมาส 4 ไตรมาส 3 ไตรมาส 1- 2 เป้าหมาย ผ่านเกณฑ์ 100 % 8 แห่ง (53.33 %) 5 แห่ง

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน หน่วยงานหลัก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน แผนงาน …………การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม………… โครงการ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม GREEN & CLEAN Hospital PP&P Excellence แผนงานที่ 4… เป้าหมาย : โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ตัวชี้วัด : โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดี ร้อยละ 20 โดยมีโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมากอย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน จ.น่าน มีโรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 14 แห่ง โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม 1 แห่ง และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 147 แห่ง จากการประเมิน GREEN & CLEAN Hospital พบว่า มีโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก จำนวน 1 แห่ง ระดับดี จำนวน 4 แห่ง ระดับพื้นฐาน จำนวน 9 แห่ง ไม่ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน 1 แห่ง ยุทธศาสตร์/ มาตรการ Strategy 1 พัฒนาระบบข้อมูลพื้นฐาน Strategy 2 พัฒนาระบบบริการ การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและนวัตกรรม Strategy 3 สร้างเครือข่ายสู่ชุมชน กิจ กรรมหลัก 1.ประเมินตนเองตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital (ส่ง 20 ธค. 60) 2.วางแผนพัฒนา GREEN & CLEAN Hospital 1.พัฒนา GREEN & CLEAN Hospital - การจัดการขยะ/มูลฝอยติดเชื้อ - การจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย 2.ส่งเสริมนวัตกรรมชุมชน การจัดการปัญหาสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในสิ่งแวดล้อม ( N : อาหารปลอดภัย) 1.สร้างเครือข่ายพัฒนา GREEN & CLEAN Hospital 2.ส่งเสริมให้เกิด Green Community ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 รพ.ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 93.33 ไตรมาส 2 ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 100 ไตรมาส 3 ระดับดี ร้อยละ 53.33 (8 แห่ง) ไตรมาส 4 - รพ.ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมาก จำนวน 5 แห่ง - มีตำบลที่มีศักยภาพจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Green Community) อย่างน้อย 20 ตำบล

โครงการ แก้ไขปัญหาสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในสิ่งแวดล้อม ผัก ผลไม้ปลอดภัยในโรงพยาบาล ชุมชนมีศักยภาพในการลดปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม หน่วยงานหลัก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน เป้าหมาย : ผักและผลไม้ที่ให้บริการแก่ผู้ป่วยในโรงพยาบาล และประชาชนมีความปลอดภัยจากปัญหาสารเคมีทางการเกษตร ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผักผลไม้ที่ให้บริการใน รพ. มีความปลอดภัย เป้าหมาย : ชุมชนมีศักยภาพในการลดปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของชุมชนผ่านการประเมินชุมชมเข็มแข็งด้านสิ่งแวดล้อม (Active community) 2. รพ.ผ่านเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระดับดีมาก อย่างน้อย 5 แห่ง เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน จากการตรวจเลือดในเกษตรกร จำนวน 20,182 คน ตรวจพบสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือด จำนวน 11,674 คน (57.84%) ระดับเสี่ยง จำนวน 7,872 คน (39.01%) และระดับไม่ปลอดภัย จำนวน 3,802 คน (18.84%) และจากรายงานการวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพหน่วยงานท้องถิ่นในการจัดการและป้องกันการปนเปื้อนสารพิษบนพื้นที่ต้นน้ำน่าน ของม.นเรศวร พบสารเคมีทางการเกษตรตกค้าง ในตัวอย่างน้ำผิวดิน น้ำใต้ดิน ดิน ตะกอนดิน น้ำดื่ม น้ำประปา ผัก และปลา มากกว่าร้อยละ 90 ของตัวอย่างทั้งหมดที่ได้รับการตรวจ ยุทธศาสตร์/ มาตรการ Strategy 1 ชื้แจงนโยบาย Strategy 2 สร้างเครือข่าย Strategy 3 ติดตาม ประเมินผล พัฒนาความพร้อมของชุมชน ชุมชนมีศักยภาพ ชุมชนมีความยั่งยืน - ชี้แจงนโยบายฯ กระทรวงสาธารณสุข สร้างเครือข่าย QC Team ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ - กำกับติดตาม - มีการบริการผักและผลไม้ปลอดภัยใน รพ. - ชี้แจง คณะทำงาน - สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย - วิเคราะห์ ปัจจัยเสี่ยง จัดทำแผนชุมชน - สร้างความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องการใช้สารเคมี - สร้างความตระหนักและจิตสำนึก การลด ละ เลิก การใช้สารเคมีฯ - ตรวจโคลีนเอสเตอเรส (1) - สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย - สร้างมาตรการชุมชนละ เลิก การใช้สารเคมีฯ ตรวจโคลีนเอสเตอเรส (2) - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (บูรณาการ โครงการตำบลจัดการสุขภาวะ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) ส่งเสริมให้ บ้านและครัวเรือน มีการปลูกผัก/ผลไม้ปลอดภัย สนับสนุนให้เกิดกลุ่มสมัครใจ ปลูกผัก/ผลไม้ปลอดภัย กิจกรรมหลัก ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 - ชี้แจงการดำเนินงาน - มีแผนการดำเนินงาน ไตรมาส 2 - มีเครือข่ายการดำเนินงาน พัฒนาเครือข่าย QC Team ทีมครู ก ไตรมาส 3 ร้อยละ 50 ของผักผลไม้ที่ให้บริการใน รพ. มีความปลอดภัย - ชุมชนมีแผนพัฒนาชุมชน ไตรมาส 4 ร้อยละ 90 ของผักผลไม้ที่ให้บริการใน รพ. มีความปลอดภัย รพ.ผ่านเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระดับดีมาก อย่างน้อย 5 แห่ง ร้อยละ 80 ของชุมชนผ่านการประเมินชุมชมเข็มแข็งด้านสิ่งแวดล้อม (Active community - บ้าน/ครัวเรือน ร้อยละ 60 มีการปลูกพืช ผัก ผลไม้ ปลอดภัย ไว้สำหรับรับประทานเอง - เกิดกล่ม สมัครใจ ปลูกผักปลอดภัย อย่างน้อย 10 กลุ่ม

CLEAN Hospital ระดับดีมาก โครงการแก้ไขปัญหาสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในสิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัยในโรงพยาบาล การพัฒนาศักยภาพชุมชนมีศักยภาพในการลดปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กลวิธีดำเนินงาน เป้าหมาย ผลลัพธ์ โรงพยาบาล ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ผักและผลไม้ที่ให้บริการ แก่ผู้ป่วยในโรงพยาบาล และประชาชนมีความปลอดภัย จากปัญหาสารเคมีทางการเกษตร ชุมชนมีศักยภาพในการลดปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ประเด็นสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในสิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัย ใน รพ. ชี้แจงนโยบายฯ กระทรวงสาธารณสุข สร้างเครือข่าย QC Team ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ มีการบริการผักและผลไม้ปลอดภัยใน รพ. (ผ่าน บ.ประชารัฐฯ) GREEN& CLEAN Hospital ระดับดีมาก กลุ่มปลูกผัก/ผลไม้ปลอดภัย ส่งเสริมให้ รพ. ปลุกผักปลอดภัย ชุมชน ขั้นตอนที่ 1 พัฒนาความพร้อมของชุมชน ขั้นตอนที่ 2 ชุมชนมีศักยภาพ ขั้นตอนที่ 3 ชุมชนมีความยั่งยืน สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย สร้างความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องการใช้สารเคมีฯ สร้างความตระหนักและจิตสำนึก การลด ละ เลิก การใช้สารเคมีฯ ตรวจโคลีนเอสเตอเรส (1) สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย สร้างมาตรการชุมชน ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีฯ ตรวจโคลีนเอสเตอเรส (2) Active community คณะทำงาน เกิดกลุ่มสมัครใจ ปลูกผัก/ผลไม้ปลอดภัย ครัวเรือนมีการปลูกผัก ผลไม้ ปลอดภัย บูรณาการ โครงการตำบลจัดการสุขภาวะ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

รณรงค์ปลูกต้นการบูร ต้นไม้ประจำกระทรวงสาธารณสุข