งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
วัชรีพร โอฬารกนก ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการศัตรูพืช กรมส่งเสริมการเกษตร

2 วัตถุประสงค์ 1 2 พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ
สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ สร้างความเข้มแข็งให้ เกษตรกร เพื่อให้สามารถ พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ตามความต้องการของ เกษตรกรเอง ด้วยการนำหลักการ ทฤษฎีและ แนวทางทรงงาน แก้ไขปัญหาด้านการเกษตรให้ เหมาะสมกับสภาพของท้องถิ่นและชุมชน 1 2

3 ตามความต้องการของเกษตรกร
เป้าหมาย ดำเนินการ 77 จังหวัด 882 ศพก. ทุกอำเภอทั่วประเทศ เกษตรกรสมาชิก ศพก. และศูนย์เครือข่ายของ ศพก. รายบุคคล หรือ กลุ่มสมาชิก ดำเนินการด้วยตนเอง หรือขอรับสนับสนุน บางส่วนตามความจำเป็น ตามความต้องการของเกษตรกร 9,999 โครงการ /กิจกรรม

4 หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไข
การพิจารณา (๙ ข้อ)

5 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย
หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย เกษตรกรสมาชิก ศพก. และศูนย์เครือข่ายของ ศพก. รายบุคคล หรือ กลุ่มสมาชิก

6 2. ตามความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี
หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ตามความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและ ได้รับความเห็นชอบจาก ศพก.

7 3. โครงการ/กิจกรรม ที่ เสนอ
หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่ เสนอ ดำเนินการอยู่แล้ว พัฒนาต่อยอด ดำเนินการได้เอง หน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการ ดำเนินงานอยู่แล้ว โครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยังไม่ เคยดำเนินการมาก่อน

8 มีการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการ ศพก.
หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการ บริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วย ความถูกต้องและโปร่งใส มีการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการ ศพก.

9 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และ ใช้ประโยชน์ได้อย่าง ต่อเนื่องอย่างยั่งยืน
หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วยความถูกต้องและโปร่งใส มีการ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ศพก. 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และ ใช้ประโยชน์ได้อย่าง ต่อเนื่องอย่างยั่งยืน

10 หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา
1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วยความถูกต้องและโปร่งใส มีการ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ศพก. 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืน 6. สถานที่ดำเนินการ ควร เป็นสถานที่สาธารณะที่ได้รับ อนุญาตให้ใช้ อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่า 3 ปี

11 เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฯ ไม่เน้นการก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้าง
หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วยความถูกต้องและโปร่งใส มีการ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ศพก. 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืน 6. สถานที่ดำเนินการ ควรเป็นสถานที่สาธารณะที่ได้รับอนุญาตให้ใช้อย่างถูกต้องไม่น้อยกว่า 3 ปี 7. กรณีมีการใช้แรงงาน ให้ เกษตรกรสมาชิก/กลุ่มสมาชิกและ ชุมชนร่วมกับใช้แรงงาน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฯ ไม่เน้นการก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้าง

12 8. มีความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันที และต้องแล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด
หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วยความถูกต้องและโปร่งใส มีการ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ศพก. 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืน 6. สถานที่ดำเนินการ ควรเป็นสถานที่สาธารณะที่ได้รับอนุญาตให้ใช้อย่างถูกต้องไม่น้อยกว่า 3 ปี 7. กรณีมีการใช้แรงงาน ให้เกษตรกรสมาชิก/กลุ่มสมาชิกและชุมชนร่วมกับใช้แรงงาน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฯ ไม่เน้นการก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้าง 8. มีความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันที และต้องแล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด

13 หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา
1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วยความถูกต้องและโปร่งใส มีการ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ศพก. 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืน 6. สถานที่ดำเนินการ ควรเป็นสถานที่สาธารณะที่ได้รับอนุญาตให้ใช้อย่างถูกต้องไม่น้อยกว่า 3 ปี 7. กรณีมีการใช้แรงงาน ให้เกษตรกรสมาชิก/กลุ่มสมาชิกและชุมชนร่วมกับใช้แรงงาน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฯ ไม่เน้นการก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้าง 8. มีความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันทีและต้องแล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด 9. ให้พิจารณาความเหมาะสมให้รอบด้าน เพื่อให้เกิดความสำเร็จย่างแท้จริงและยั่งยืน

14 9. แนวทาง/กิจกรรมตาม รอยเท้าพ่อ
9.1 การพัฒนา การจัดการและ ปรับปรุงแหล่งน้ำ 9.2 การพัฒนาดินและการปรับปรุงบำรุงดิน 9.3 การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 9.4 ความพออยู่ พอกิน พอใช้ และระบบนิเวศน์ 9.5 การพึ่งพาตนเอง 9.6 เกษตรทฤษฎีใหม่ 9.7 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 9.8 การพัฒนาอาชีพด้านการเกษตร 9.9 อื่นๆ

15 การบริหารโครงการ ศพก. เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการดำเนินโครงการ/กิจกรรมปฏิบัติงานร่วมกันแบบประชารัฐ โดยบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องให้การดำเนินโครงการ/กิจกรรมเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน หน่วยงานรับผิดชอบ หน่วยงานหลัก : -กรมส่งเสริมการเกษตร หน่วยงานร่วม : -คณะอนุกรรมการพัฒนาเกษตรและสหกรณ์ ระดับจังหวัด - ทุกหน่วยในกระทรวงเกษตรฯ

16 การบริหารงบประมาณ ประมาณการวงเงิน 513,994,000 บาท
ใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่มีภารกิจตรงตามที่เกษตรกรต้องการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ประมาณการวงเงิน 513,994,000 บาท 6.1 โครงการ/กิจกรรมละ 50,000 บาท วงเงิน ล้านบาท เปลี่ยนแปลงรายการ/หมวดเงินงบประมาณ พ.ศ ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 6.2 การบริหารโครงการใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 14,044,000 บาท

17 ขั้นตอนการดำเนินงาน 5. เริ่มดำเนินโครงการอย่างเป็นทางการ
1. จัดเวทีชุมชนสำรวจความต้องการและการเสนอโครงการ/กิจกรรม ศพก./ ศูนย์เครือข่าย ร่วมกับ สนง.กษอ. 2. รวบรวม วิเคราะห์และพิจารณาความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความจำเป็นในการดำเนินงานของโครงการ/กิจกรรม 3. คัดเลือกและอนุมัติ ศพก. ละ โครงการ/กิจกรรม คณะอนุกรรมการพัฒนาเกษตรและสหกรณ์ ระดับจังหวัด 1) สามารถดำเนินการได้เอง ไม่จำเป็นต้องใช้งบประมาณ 2) ปรับเปลี่ยนใช้งบประมาณ หน่วยงานมีอยู่แล้ว 3) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมจากส่วนกลาง *กลุ่ม 2) และ 3) ต้องขออนุมัติ ปรับเปลี่ยนรายการ และหมวดเงิน 4. เสนอกระทรวง ฯ และ กรมฯ ตามภารกิจโครงการ/กิจกรรม เพื่อดำเนินการ ปรับเปลี่ยนรายการและหมวดเงินงบประมาณ 5. เริ่มดำเนินโครงการอย่างเป็นทางการ

18 ระยะเวลา 5 - 25 25 - 28 พ.ย. ’59 พ.ย. ’59 29 พ.ย.’59 15 ธ.ค.’59
ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. จัดเวทีชุมชนสำรวจความต้องการและการเสนอโครงการ/กิจกรรม 5 - 25 พ.ย. ’59 2. รวบรวม วิเคราะห์และพิจารณาความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความจำเป็นในการดำเนินงานของโครงการ/กิจกรรม 3. อนุมัติ ศพก. ละ โครงการ/กิจกรรม พ.ย. ’59 1) สามารถดำเนินการได้เอง ไม่จำเป็นต้องใช้งบประมาณ 2) ปรับเปลี่ยนใช้งบประมาณ หน่วยงานมีอยู่แล้ว 3) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมจากส่วนกลาง 29 พ.ย.’59 4. เสนอกระทรวง ฯ และ กรมฯ ตามภารกิจโครงการ/กิจกรรม เพื่อดำเนินการ ปรับเปลี่ยนรายการและหมวดเงินงบประมาณ 15 ธ.ค.’59 5. เริ่มดำเนินโครงการอย่างเป็นทางการ

19 ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลลัพธ์
มีโครงการ/กิจกรรม ตามความต้องการของเกษตรกรจำนวน ไม่น้อยกว่า 9,999 โครงการ/กิจกรรมตามรอยเท้าพ่อ และเกษตรกร ได้รับประโยชน์จากการดำเนินโครงการ/กิจกรรมไม่น้อยกว่า 999,900 ราย ผลลัพธ์ เกษตรกรสมาชิกและกลุ่มสมาชิก ศพก. หรือ เครือข่าย ศพก. ปฏิบัติตามหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ฯ พระราชทานไว้ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและเกิดการบูรณาการในรูปแบบประชารัฐ ก่อให้เกิดความเข้มแข็งในการดำเนินชีวิตแบบพึ่งพาตนเองได้และประกอบอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ส่งผลต่อความผาสุขของเกษตรกรและสังคมอย่างยั่งยืน

20 15 ธันวาคม 2559 เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อม
เริ่มดำเนินโครงการ 9,999 โครงการตามรอยเท้าพ่อ เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อม รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ เนื่องในพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลสตมวาร (100 วัน)


ดาวน์โหลด ppt โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google