เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำหนังสือใหม่ เมษายน 2557
Advertisements

แนะนำหนังสือใหม่ กรกฎาคม 2555
การพัฒนาเว็บฝึกอบรม เรื่อง การใช้งานระบบงานทะเบียนประมวลผลและหลักสูตร
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
งานมุทิตาคารวะและพิธีมอบทุนการศึกษา
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
งานประชาสัมพันธ์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรี ฉบับที่ 193 ประจำเดือนกรกฎาคม 2558 การประชุมปิดภาคการศึกษา 2/2557 ผศ. ดร. สิริแข พงษสวัสดิ์ ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดโครงการอบรมเชิง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ณ ห้องประชุม 45 ปี ชั้น 3 อาคาร 2 คณะ ศึกษาศาสตร์
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชเด็กและวัยรุ่น
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
พ.ต.อ.หญิงนพมาศ ขำสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย การประชุมวิชาการครั้งที่ 4/2560 เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย Early Life Nutrition Network Thailand วันจันทร์ที่ 18 ธันวาคม 2560 เวลา 09.00-15.30 น. ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ ชั้น 6 อาคารบ้านคุณพุ่ม โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

รศ.นพ.วิทยา ถิฐาพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กำหนดการประชุมวิชาการ 09:00 – 09:30 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์: Iron metabolism รศ.นพ.วิทยา ถิฐาพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 09:30 – 10:00 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก : ปัญหาในระดับโลกและกรณีตัวอย่างจากประเทศต่างๆ รศ.ดร.เอมอร อุดมเกษมาลี สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 10:00 – 10:30 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กและผู้หญิงไทย : ปัญหายิ่งใหญ่ที่ต้องรับการแก้ไข รศ. ดร.พัตธนี วินิจจะกูล สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 10:30 – 10:45 พักรับประทานอาหารว่าง 10:45 – 11:15 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์: จะป้องกันและตรวจวินิจฉัยได้อย่างไร? รศ.พญ.จรินทร์ทิพย์ สมประสิทธิ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 11:15 – 11:45 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์: จะดูแลรักษากันอย่างไร?                                      พล.ท. หญิง จุฑาวดี วุฒิวงศ์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 11:45 – 12:15 เด็กอ้วนที่เป็นภูมิแพ้: มหันตภัยร้ายที่คาดไม่ถึง ศ.พญ.จรุงจิตร์ งามไพบูลย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12:15 – 13:15 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:15 – 13:45 โรคอ้วนในเด็ก: วินิจฉัยอย่างไร เมื่อไรรักษา เมื่อไรส่งต่อ? ผศ.พญ. พัชราภา ทวีกุล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 13:45 – 14:15 โรคอ้วนในเด็ก: แนวทางการให้โภชนบำบัด รศ.ดร.พญ.นลินี จงวิริยะพันธุ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 14:15 – 14:45 คลินิกเด็กสุขภาพดี: ช่องทางใหม่เพื่อโภชนาการที่ถูกต้อง รศ.พญ.อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 14:45 – 15:15 เลี้ยงลูกอย่างไรให้ไกลอ้วน รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 15:15 – 15:30 สรุปการบรรยายและปิดการประชุม โดยคณะวิทยากร

ผู้เข้าร่วมประชุมตามสาขาวิชาชีพ ผู้เข้าร่วมประชุมตามจังหวัด ผู้เข้าร่วมประชุม 228 ท่าน จากโรงพยาบาล /รพ.สต. /หน่วยงาน 56 แห่งจาก 4 จังหวัด 4 38 21 7 181 25 3 167 4 40 ผู้เข้าร่วมประชุมตามสาขาวิชาชีพ ผู้เข้าร่วมประชุมตามจังหวัด

ประมวลภาพ วิทยากรและผู้เข้าร่วมประชุม

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 1 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 1. ความพร้อมของการจัดประชุมวิชาการ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 2 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 2. ประเมินผลทางวิชาการที่ได้รับ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 3 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 3. การประเมินผลวิทยากรตามหัวข้อ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ ความชื่นชม ดีมากค่ะ อยากให้จัดแบบนี้อีก สถานพยาบาลมีหลายระดับในการดูแลสุขภาพ โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์บางอย่างในสถานพยาบาลระดับ รพ.สต. ไม่มีใช้ ต้องใช้มือในการให้บริการ เช่น การแปรผลกราฟโภชนาการในเด็ก จึงต้องใช้เวลาในการปฏิบัติ (ขอชื่นชม PHB Kiddiarny โดยใช้โทรศัพท์มือถือ) ควรมีการประชุมวิชาการแบบนี้ทุกปี และควรมี CNEU หน่อย คะแนนให้พยาบาลด้วยนะคะ ขอบคุณอย่างสูงค่ะ ขอขอบคุณการจัดครั้งนี้ ทำให้เข้าใจการแปรผล Lab มาขึ้นเลยค่ะ

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ ข้อเสนอแนะ เนื้อหาน่าสนใจมากๆ และสามารถนำไปใช้ในการทำงานได้มาก น่าจะมีการอบรมสัก 2 วัน (10) อาจารย์สอนดีมาก แต่ให้เวลาแต่ละท่านน้อยเกินไป ทำให้ต้องสอนเร็วฟังไม่ค่อยทันค่ะ(5) หนังสือที่ประกอบอบรมดีค่ะ ตาควรมีเอกสารที่อาจารย์แต่ละท้านสอนด้วย เนื่องจากเนื้อหาน่าสนใจ เพิ่มทักษะในการทำงานได้ นำไปใช้ได้ เพราะเนื้อหามาก และเวลาน้อยต้องใช้เวลาในการบรรยายเร็ว (บันทึกไม่ทัน) บาง heading ควรให้เวลาเยอะกว่านี้ เนื้อหาอัดแน่นจนเกินไป เนื้อหาตามแต่ละเรื่องควรจัดแบ่ง 2 วัน เพราะเป็นเรื่องที่ต้องทำความเข้าใจกันมากๆ เนื้อหาวิชาการมีมากควรจะขยายาเวลาในการอบรบ ประกอบกับวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถถ่ายทอดได้ดี แต่มีเวลาจำกัด จากการประชุม ประเด็นการดูแลภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ อยากให้ผู้จัดผลักดันให้มีการใช้เป็นแนวทางที่เหมือนกันในพื้นที่

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ หัวข้อการประชุมอื่นๆที่สนใจ ควรมีการอบรมเกี่ยวกับงานโภชนาการในเด็ก (เน้นงานในชุมชน) แนวทางทางการให้คำแนะนำด้านโภชนาการบำบัดในกรณีเพื่อสามารถนำไปใช้แนะนำกลุ่มเป้าหมายได้ อยากให้เพิ่มหัวข้อ "หลังคลอด" มากกว่านี้ ภูมิแพ้, ผิวหนังในเด็ก และวัคซีน โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่น้ำหนักขึ้นน้อย การป้องกันการเกิดภูมิแพ้จากนมวันในทารก อาการทางคลินิกและการดูแล (ตอนนี้มีปัญหานี้เยอะมากกว่าจะวินิจฉัยเจอเด็กได้รับการรักษาแบบ allerg bronchitis มาก)