งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
การประชุมวิชาการครั้งที่ 1/2561 เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย Early Life Nutrition Network Thailand วันพฤหัสบดีที่ 5 และวันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม 2561 เวลา น. ณ ห้องประชุมนานาชาติ ชั้น 2 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จังหวัดปทุมธานี

2 กำหนดการประชุมวันที่ 5 “เบาหวานในมารดา”
09:00 – 09:30 ปัญหา ความสำคัญและการวินิจฉัยภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ รศ.นพ.วิทยา ถิฐาพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 09:30 – 10:00 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ รศ.พญ.จรินทร์ทิพย์ สมประสิทธิ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 10:00 – 10:30 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานก่อนการตั้งครรภ์ (Overt DM) ต้องดูแลและทำอย่างไร? ผศ.พล.ท.หญิง จุฑาวดี วุฒิวงศ์ โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า 10:30 – 11: พักรับประทานอาหารว่าง 11:00 – 11:30 โภชนบำบัดในการรักษาโรคเบาหวานในหญิงตั้งครรภ์ ผศ.พญ.ศานิต วิชานศวกูล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 11:30 – 12:15 วิตามินแร่ธาตุในช่วงแรกของชีวิต:ความท้าทายของสาธารณสุขของโลก                                      รศ.ดร.พัตธนี วินิจจะกูล สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 12:15 – 13: พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:15 – 15:30 Workshop (สถานที่ ชั้น 4 ห้อง 4006 และ ห้อง 4007) ฐานที่ 1 การจัดอาหารและอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน คุณเบญจพรรณ บุรพัตร และ คุณจุฑามาศ ทองลิ่ม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ฐานที่ 2 ฉลากโภชนาการอ่านเป็น คุมเบาหวานได้ คุณชมชนก ศรีจันทร์ และ คุณฟารีดา อยู่ดี โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ฐานที่ 3 ฐานเบาหวานเจาะน้ำตาล พ.ว.ปุญญาดา ณปัณพัฒน์ และ นายจรรยา บุตรครุฑ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ฐานที่ 4 ฐาน (SMBG) การฉีดยาอินซูลิน พ.ว.ณัฏฐธมน ธนธรณ์กีรติ และ ภก.ณัฐสุดา หลักเพชร โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ 15:30 – 16: ปิดการประชุม

3 กำหนดการประชุมวันที่ 6 “โภชนาการในช่วงแรกของชีวิต”
09:00 – 09:30 ภาวะขาดอาหารเฉียบพลัน: ปัญหาใกล้ตัวที่พบบ่อย รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09:30 – 10:00 ภาวะขาดอาหารเฉียบพลัน: แนวทางการดูแลรักษา อ.พญ.จีรพรรณ โพธิ์สุวัฒนากุล โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 10:00 – 10:30 ภูมิแพ้ที่ทำให้เกิดปัญหาการเจริญเติบโตในเด็ก ศ.พญ.จรุงจิตร์ งามไพบูลย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 10:30 – 11: พักรับประทานอาหารว่าง 11:00 – 11:30 โภชนาการเพื่อความสูงเต็มศักยภาพ พ.อ.เรืองวิทย์ ตันติแพทยางกูร โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า 11:30 – 12:00 วิตามิน ดี กับโภชนาการช่วงแรกของชีวิต                                      รศ.พญ.อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 12:00 – 12:30 สังกะสี กับโภชนาการช่วงแรกของชีวิต รศ.ดร.พญ.นลินี จงวิริยะพันธุ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 12:30 – 13: พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:30 – 15:30 Workshop (สถานที่ ชั้น 4 ห้อง 4006 และ ห้อง 4007) ฐานที่ 1 อาหารสำหรับทารก พญ.จิตติมา มนต์วิรัตน์นุกล และ นางสาวสุธิดา ชาติวุฒินันท์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ฐานที่ 2 อาหารตามวัย พญ.สิรินภา ศิวารมณ์ และ นางสาวประดับดวง เส้นเถาว์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ฐานที่ 3 อาหารแลกเปลี่ยน และฉลากโภชนาการ พ.ว.พรรณเพ็ญ พูนลาภเดชา โรงพยาบาลรามาธิบดี ฐานที่ 4 Kid Diary นางสาวภูริศา เวชรักษ์ นักวิชาการโภชนาการ โรงพยาบาลรามาธิบดี 15:30 – 16: ปิดการประชุม

4 ผู้เข้าร่วมประชุมตามสาขาวิชาชีพ ผู้เข้าร่วมประชุมตามจังหวัด
ผู้เข้าร่วมประชุมรวม 457( ) ท่าน จากโรงพยาบาล/หน่วยงานสาธารณสุข จาก 20 จังหวัด จังหวัดอื่นๆ สุรินทร์ 1 ตาก 1 นครราชสีมา 1 ภูเก็ต 2 1 7 7 8 1 6 7 137 6 3 6 1 1 11 88 9 ผู้เข้าร่วมประชุมตามสาขาวิชาชีพ ผู้เข้าร่วมประชุมตามจังหวัด

5 ประมวลภาพ วิทยากรและผู้เข้าร่วมประชุม

6 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ 1
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน ใบ 1. ความพร้อมของการจัดประชุมวิชาการ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

7 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ 2
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน ใบ 2. ประเมินผลทางวิชาการที่ได้รับ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

8 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100 ใบ 3
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100 ใบ 3. การประเมินผลวิทยากรตามหัวข้อ วันที่ 5 เบาหวาน พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

9 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 95 ใบ 3
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 95 ใบ 3. การประเมินผลวิทยากรตามหัวข้อ วันที่ 6 โภชนาการในช่วงแรกของชีวิต พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

10 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ ความชื่นชม
การประชุมจัดได้ดีมาก ได้ความรู้และสามารถนำไปใช้ได้มาก มีความประทับใจการจัดงาน เอกสาร การเตรียมงาน อาหารกลางวัน อาหารเบรกประทับใจมาก อยากให้ อ.วิทยา เป็นวิทยากรทุกปีที่มีการจัดประชุมเพราะอาจารย์สอนดีมากหๆ เข้าใจง่ายมองภาพได้ชัดเจนดีมาก สถานที่ดีเยี่ยมเหมาะสม เครื่องเสียงไมค์มีความชัดเจน มองเห็นผู้บรรยายได้ดีมาก จัดที่เดิมอีก ภาพรวมมีความประทับใจในการจัดงาน มีการอัพเดตความรู้สำหรับผู้ปฏิบัติงานจริง การดูแลของเจ้าหน้าที่ดีและใส่ใจผู้เข้าอบรม

11 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ ข้อเสนอแนะ
ผู้เข้าร่วมอบรมทุกท่านควรได้ทำ Workshop เพื่อให้ทุกท่านได้รับความรู้และหลักการปฏิบัติที่ถูกต้อง (10 ความเห็น) วิทยากรกับเวลาไม่พอดี ทำให้เลยเวลามาก (2 ความเห็น) เริ่มช้า และ เลิกช้า (ช่วงเช้า) ถ้าเป็นไปได้ควรเริ่ม 8:30 น. (2 ความเห็น) ระยะเวลาในแต่ละหัวข้อสั้นเกินไปกับเนื้อหามากมาย (5 ความเห็น) น่าจะจัด 3 วัน แม่/เด็ก/อื่นๆ เนื้อหาในเล่มไม่มีเรื่องสังกะสี เนื้อหาแน่นมาก ทำให้การพักเบรคช้า ทำให้ขาดสมาธิเพราะน้ำตาลต่ำ ควรรักษาเวลาให้อยู่ในช่วงตามกำหนดการ จัดตารางการอบรมด้วยวิชาการข้อการบรรยายน่าสนใจ และสามารถนำไปปรับใช้ได้ดีมาก ด้วยเวลาการบรรยายน้อยมาก เสนอแนะจัดคราวหน้า workshop จัดเวลา น. เลื่อเวลามาและการบรรยายลงมาช่วงบ่าย ทำให้ช่วงเช้าจะได้ไม่แน่นมาก เพราะเวลาที่น้อยมีผลต่อเนื่องการบรรยาย วันสุดท้ายของการประชุมอยากให้มีการจับรางวัลลุ้นโชค เพื่อเป้นขวัญและกำลังใจ เล็กๆ น้อย กับผู้เข้าร่วมประชุม และเป็นการดึงดูดผู้ฟังบรรยายจนจบ

12 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ หัวข้อการประชุมอื่นๆที่สนใจ
การดูแลภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งระยะต่างๆ โรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์อื่นๆ เช่น precelmotion hellp syndrame กับการให้โภชนบำบัด เป็นต้น anemia/ธาลัสซีเมีย การทำกิจกรรมกลุ่ม Diet control, Ambulatory diet therapy การดูแลโภชนาการเด็กที่กินนมผง ทำไมเด็กทานเยอะแล้วยังมีภาวะผอมและเตี้ย ปัญหาเด็กอ้วนในประเทศไทย, การให้คำแนะนำผู้ปกครองที่มีลูกอ้วน เมนูอาหารเสริมและการดัดแปลงเมนูอาหารสำหรับเด็กเบื่ออาหาร การให้คำแนะนำโภชนาการมารดาตั้งครรภ์ในแต่ละไตรมาสของการตั้งครรภ์ การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง หรือภาวะทางสูติฯ ฉุกเฉิน อาหารกับผู้สูงอายุ/อาหารกับสตรีวัยทอง


ดาวน์โหลด ppt เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google