งานสำคัญด้านโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปี 2560 นายแพทย์สุเทพ เพชรมาก รองอธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการบิหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรค.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานสำคัญด้านโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2560 โดย...ดร.นพ. ปรีชา เปรมปรี ผู้อำนวยการสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโรคและภัยสุขภาพ จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2560 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมอมารี แอร์พอร์ต ดอนเมือง กรุงเทพฯ 1

กรอบแนวคิด/แผนยุทธศาสตร์ หัวข้อการนำเสนอ แผนงานยุทธศาสตร์ (บูรณาการ) : แผนงานยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม “บูรณาการกลุ่มวัยทำงาน” แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพกลุ่มแรงงานนอกระบบ/ ภาคเกษตรกรรม แผนงานควบคุมโรค ปี 2560 กรอบแนวคิด : โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ (Occ.) & สิ่งแวดล้อม (Env.) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพผู้ประกอบอาชีพและผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ปี พ.ศ. 2560 - 2564 ความเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติ (ด้านสาธารณสุข) และ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 กรอบแนวคิด/แผนยุทธศาสตร์ 1. 2. 3. 2

กรอบแนวคิด : โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ (Occ กรอบแนวคิด : โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ (Occ.) & สิ่งแวดล้อม (Env.) กลุ่มเป้าหมาย 2. กลุ่มผู้ประกอบอาชีพ (38.3 ล้านคน)1 การดูแลสุขภาพตามกลุ่มวัย : วัยทำงาน 1. กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบ ต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม แรงงานนอกระบบ 22.4 ล้านคน1 กลุ่มเปราะบาง กลุ่มที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มผู้บริโภค -เด็ก -คนชรา -ผู้เจ็บป่วย -สตรีมี ครรภ์ อุตสาหกรรม บริการ เกษตรกรรม 12.0 ล้านคน1 ราชการ 5.7 ล้านคน3 ระบบประกันสังคม 13.86 ล้านคน2 เฝ้าระวังฯ และเตรียมความพร้อม ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน Env. การเฝ้าระวังฯ และเตรียมความพร้อม ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน Occ. บริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม บริการอาชีวอนามัย ที่มา : 1 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร, การสำรวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2558 2 กองวิจัยและพัฒนา สำนักงานประกันสังคม, สิงหาคม พ.ศ. 2559 (รวมประกันสังคม มาตรา 33, 39, 40) 3 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร, การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 (รวมข้าราชการ/ข้าราชการบำนาญ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอิสระ ของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) 3

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพผู้ประกอบอาชีพและผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ปี พ.ศ. 2560 - 2564 ผู้ประกอบอาชีพและผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ได้รับการดูแลให้ปลอดภัยจากโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบ อาชีพและสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน วิสัยทัศน์ (Vision)   บริหารจัดการระบบสุขภาพผู้ประกอบอาชีพและผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับประเทศ จังหวัด ท้องถิ่น และชุมชนให้มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน พัฒนาระบบบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน และจัดการปัญหาสุขภาพฯ เชิงประเด็นที่สำคัญให้ได้ตามมาตรฐานสากล เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และจัดการปัญหาสุขภาพฯ พันธกิจ (Mission) G1 การบริหารจัดการระบบสุขภาพฯ แบบบูรณาการ มีประสิทธิภาพ เป็นระบบ และยั่งยืน   G2 ผู้ประกอบอาชีพและผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดล้อมสามารถเข้าถึงบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล G3 ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน และจัดการปัญหาสุขภาพฯ มีศักยภาพตามมาตรฐานสากล G4 ภาคีเครือข่ายมีศักยภาพ มีความเข้มแข็ง และมีส่วนร่วม ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และจัดการปัญหาสุขภาพฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ   เป้าประสงค์ (Goal) SI1 การบริหารจัดการระบบสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ และผู้ได้รับผลกระทบ จากมลพิษสิ่งแวดล้อม แบบบูรณาการ   SI2 การพัฒนาระบบบริการ อาชีวอนามัยและ เวชกรรมสิ่งแวดล้อมเชิงรุกและเชิงรับให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล SI3 การพัฒนาระบบ เฝ้าระวัง ป้องกัน และจัดการปัญหาสุขภาพฯ เชิงประเด็นที่สำคัญให้ได้ตามมาตรฐานสากล SI4 การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทั้งในประเทศและระหว่างประเทศในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และจัดการปัญหาสุขภาพฯ ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issue) 4 ข้อมูล ณ วันที่ 16 ก.ย. 59

แผนงานป้องกันควบคุมโรค กรมควบคุมโรค ความเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติ (ด้านสาธารณสุข) และกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) แผนงาน 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน แผนงาน 9 : การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตามเกณฑ์ที่กำหนด แผนงานป้องกันควบคุมโรค กรมควบคุมโรค บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม โรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม (กลุ่มวัยทำงาน) โรคจากการประกอบอาชีพ กลุ่มแรงงานนอกระบบ /ภาคเกษตรกรรม 5

แผนงานควบคุมโรค ปี 2560 6

1. แผนงานควบคุมโรคจากสิ่งแวดล้อม (ภายใต้แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะ และสิ่งแวดล้อม ปี 2560) 7

แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ปี 2560 (ระดับชาติ) เป้าหมายที่ 1 : การจัดการขยะ เป้าหมายที่ 2 : การจัดการคุณภาพอากาศ แนวทางที่ 1.2.3 : พัฒนากฎ ระเบียบ มาตรการและแนวทางปฏิบัติและกำกับ ดูแลบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด แนวทางที่ 2.1 : ควบคุมมลพิษในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ พื้นที่มาบตาพุด จ.ระยอง พื้นที่หน้าพระลาน จ.สระบุรี ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีการเฝ้าระวัง ป้องกันสุขภาพด้านผู้ประกอบอาชีพและ ปชช.สัมผัสขยะ 20 จ. โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ กรม คร. : 14.9 ลบ. กรม คร. : 0.8 ลบ. กรม คร. : 1.7 ลบ. 8

9

10

11

แผนงานควบคุมโรคจากสิ่งแวดล้อม (ภายใต้แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ปี 2560) ผลผลิต 14 :โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผู้สัมผัสขยะ (14.9017 ลบ.) ผลผลิต 15 :โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ (2.5 ลบ.) ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้รับการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 30) มาตรการ 1 เฝ้าระวัง และคัดกรองสุขภาพ (ผ่านบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม) ตัวชี้วัด 1.1 จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้นไป (อย่างน้อย 46 จ.) มาตรการ 2 บูรณาการดำเนินงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด 2.1 อปท. มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (อย่างน้อย 12 แห่ง) ตัวชี้วัด 1.2 ร้อยละของ รพศ./รพท. สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 50) ส่วนกลาง (สำนักฯ / สคร.) จังหวัด • สนับสนุนคู่มือ / แนวทาง / แบบคัดกรอง / ระบบการรายงาน / ฐานข้อมูล • ร่วมรวบรวมข้อมูลสุขภาพ / จัดทำฐานข้อมูล 46 จว. • ร่วมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ / เครือข่าย 46 จว. • ตรวจคัดกรองสุขภาพใน ปชช. กลุ่มเสี่ยงขยะ 20 จว. / กลุ่มเสี่ยงอื่น 17 จว. เฝ้าระวัง/ คัดกรองสุขภาพ พัฒนาระบบบริการ อาชีวอนามัยและ เวชกรรมสิ่งแวดล้อม • พัฒนาศักยภาพแพทย์ Occ-Med. พยาบาล อช. และ นวก.สธ. • สนับสนุนตั้ง Env.-Occ.Unit ในรพศ./รพท. • สนับสนุนตั้ง Env.-Occ Center ใน รพช. • สนับสนุนตั้ง Env.-Occ. Clinic ใน รพ.สต. • สสจ. : สนับสนุนการจัดบริการฯ ใน พท. • รพ. : จัดบริการฯ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี • พัฒนาคู่มือแนวทางด้าน Env.-Occ. • พัฒนา modle : เหมืองทองคำ, ขยะ, สวล. • พัฒนาศักยภาพ Lab • ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ จัดการปัญหา พัฒนากลไกทางกฎหมาย พัฒนาและขับเคลื่อน ร่าง พ.ร.บ.โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ... 12

โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของประชาชน และผู้สัมผัสขยะ (14.9017 ลบ.) ตัวชี้วัด 2560 2559 เป้าหมาย ผลงาน 1. ร้อยละของ ปชช. กลุ่มเสี่ยง ได้รับการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคและภัยสุขภาพจาก มลพิษ สวล. 30% ตัวชี้วัดใหม่ 2. จว. มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้าน สวล. และสุขภาพผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้นไป 46 จว. 36 จว. 21 จว. / 58.33% 3. ร้อยละของ รพศ., รพท. สามารถจัดบริการ อาชีวอนามัยและเวชกรรม สวล. 50% / 58 แห่ง จาก 116 แห่ง 30% / 35 แห่ง จาก 116 แห่ง 34.48% / 40 แห่ง จาก 116 แห่ง 4. อปท. มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษ สวล. 12 แห่ง ที่มา : สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ข้อมูล ณ วันที่ 25 ต.ค. 59 13

2. แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม “บูรณาการกลุ่มวัยทำงาน” 14

“สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข” แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม “บูรณาการกลุ่มวัยทำงาน” ปี 2560 “สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข” มาตรการ 1 สนับสนุน สปก. ให้มีการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด 1.1 จำนวน สปก. เข้าร่วมโครงการ สปก.ฯ เพิ่มขึ้นจากปี ที่ผ่านมา (อย่างน้อย 380 แห่ง) มาตรการ 1 สนับสนุนให้มีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร แก่ สปก. ตัวชี้วัด 2.1 สปก.ที่ พนง.มีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคฯสำคัญ 7 กลุ่มโรค มีการจัดบริการ อช.ครบวงจร อย่างน้อย จว.ละ 2 แห่ง ตัวชี้วัด 1.2 ร้อยละของ สปก. ที่เข้าร่วมโครงการฯ ดำเนินงาน ผ่านเกณฑ์ สปก. (ร้อยละ 30) กลุ่ม/ พื้นที่เป้าหมาย สถานประกอบกิจการ กลุ่มเสี่ยงโรคสำคัญ (Occ. 7 โรค, NCD, CD, บาดเจ็บ, สุขภาพจิต) • สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข • ประเมินความเสี่ยง+คัดกรองสุขภาพ + ดูแลตามความเสี่ยง,ส่งต่อตามระบบบริการฯ • เชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพระหว่างหน่วยงาน เฝ้าระวัง/ คัดกรองสุขภาพ พัฒนาระบบบริการ อช. และ เวชกรรม สวล. • เชื่อมโยงบริการคลินิกโรคจากการทำงานร่วมกับ จว. • บริการ อช. ครบวงจร (นำร่อง จว.ละ 2 แห่ง) • ทดลอง OHO Model • นำร่อง Package 3 จังหวัด เขตเศรษฐกิจพิเศษ (สระแก้ว, ตาก, สงขลา) • คู่มือแนวทางตามเกณฑ์การจัดบริการ อช. • แนวทางการเฝ้าระวังโรคพิษจากสารทำละลายอินทรีย์ • แนวทางการประเมินด้านสุขภาพจิตจากการทำงาน ฯลฯ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี พัฒนากลไกทางกฎหมาย พัฒนา และขับเคลื่อน ร่าง พ.ร.บ.โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ….. 15

แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม “บูรณาการกลุ่มวัยทำงาน” แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม “บูรณาการกลุ่มวัยทำงาน” ตัวชี้วัด 2560 2559 เป้าหมาย ผลงาน 1. จำนวน สปก. เข้าร่วมโครงการ สปก.ฯ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 380 แห่ง / จว. ละ 5 แห่ง ไม่ได้กำหนด เป็นตัวชี้วัด 2,199 แห่ง * 2. ร้อยละของ สปก. ที่เข้าร่วมโครงการฯ ดำเนินงานผ่านเกณฑ์ สปก. 30% 5% 21.87% * / 481 แห่ง * 3. สปก. ที่ พนง. มีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคฯ สำคัญ 7 กลุ่มโรค มีการจัดบริการ อช.ครบวงจร อย่างน้อย จว. ละ 2 แห่ง จว. ละ 2 แห่ง / 152 แห่ง จว. ละ 1 แห่ง / 76 แห่ง 21 จว. / 45 แห่ง หมายเหตุ : * เป็นผลงานสะสมตั้งแต่ปี 2556 - 2559 ที่มา : สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ข้อมูล ณ วันที่ 28 ต.ค. 59 16

3. แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ กลุ่มแรงงานนอกระบบ/ภาคเกษตรกรรม 17

Road Map กลุ่มเป้าหมายแรงงานนอกระบบ กลุ่มเกษตรกร 4.5 ล้านราย กลุ่มแกะสลักหิน 2,851 ราย กลุ่มเก็บ คัดแยก ขยะทั่วไป 245,000 ราย กลุ่มคัดแยกขยะ อิเล็กทรอนิกส์ 1,252 ราย กลุ่มแท็กซี่ 120,000 ราย กลุ่มตัดเย็บผ้า 268,014 ราย กลุ่มเป้าหมายสำคัญ ความเสี่ยง เชื้อโรค ของมีคม บาดทิ่มแทง โลหะหนัก เช่น ปรอท แคดเมียม ตะกั่ว ฝุ่นฝ้าย /ภูมิแพ้ สัมผัสฝุ่นหิน TB/Flu/คุณภาพอากาศในรถ สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประเทศไทยมีประชากรกลุ่มวัยทำงาน 38.3 ล้านคน แรงงานนอกระบบ 21.4 ล้านคน (55.9%) Road Map แรงงานนอกระบบ เกษตร,แท็กซี่, สลักหิน, ผลิตผ้า,เก็บ+ขยะ * 4.1 แสนรายได้รับบริการ แรงงานฯ 4 กลุ่ม * 6.2 แสนรายได้รับบริการ เกษตร,อุตฯ ครัวเรือน, เก็บ+แยกขยะทั่วประเทศ,ภาคบริการ * 10.5 ล้านรายได้รับบริการ ทุกกลุ่ม ทุกพื้นที่ เข้าถึงบริการ ที่มี คุณภาพ เร่งด่วน 2559 ระยะสั้น 2560 ระยะกลาง 61-63 ระยะยาว 64  18

พัฒนาระบบบริการ อช. และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพกลุ่มแรงงานนอกระบบ/ภาคเกษตรกรรม ปี 2560 อัตราป่วยด้วยโรคจากการประกอบอาชีพ ที่สำคัญในกลุ่มแรงงานนอกระบบ ลดลงจากปีที่ผ่านมา มาตรการ 2 สร้างและพัฒนาความร่วมมือ ของเครือข่ายเพื่อการลดปัจจัยเสี่ยงในการทำงาน มาตรการ 1 สร้างการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงาน ในชุมชน ตัวชี้วัด 1.1 ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่มีการจัดบริการอาชีวอนามัย ให้แรงงานในชุมชน เพิ่มขึ้นปีละ อย่างน้อย (ร้อยละ 60 ) ตัวชี้วัด 1.2 ร้อยละของการยกระดับ การจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงาน ในชุมชน (ร้อยละ 10) ตัวชี้วัด 2.1 จำนวนพื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง กลุ่ม/ พื้นที่เป้าหมาย * เกษตรกร * แกะสลักหิน * ตัดเย็บผ้า * เก็บคัดแยกขยะทั่วไป+อิเล็กทรอนิกส์ * แท็กซี่ • ประเมินความเสี่ยง + คัดกรองสุขภาพตามความเสี่ยง + ดูแลตามความเสี่ยง/ส่งต่อตามระบบบริการฯ • พัฒนาศักยภาพประชาชนในการดูแลสุขภาพจากการทำงาน (Self Care) • สนับสนุนมาตรการจัดการแก้ไขปัญหาความเสี่ยงผ่านกองทุนสุขภาพท้องถิ่น • เชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพระหว่างหน่วยงาน เฝ้าระวัง/ คัดกรองสุขภาพ พัฒนาระบบบริการ อช. และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม • หน่วยบริการปฐมภูมิจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงานในชุมชน (ร้อยละ 60) • ขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมป้องกันโรคฯ (MOU 14 องค์กร) วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี • พื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่าย • รูปแบบดูแลและเฝ้าระวังสุขภาพ : งานก่อสร้างและรื้อถอน , ด้านการยศาสตร์ • Unit Cost บริการส่งเสริม + ป้องกันฯ • พัฒนาศักยภาพ Lab (Test Kit ตรวจสารเคมีเกษตร) พัฒนากลไก ทางกฎหมาย พัฒนา และขับเคลื่อน ร่าง พ.ร.บ.โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ….. 19

แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ กลุ่มแรงงานนอกระบบ/ภาคเกษตรกรรม ตัวชี้วัด 2560 2559 เป้าหมาย ผลงาน 1. อัตราป่วยด้วยโรคจากการประกอบอาชีพที่สำคัญในกลุ่มแรงงานนอกระบบ ลดลงจากปีที่ผ่านมา ไม่เกิน 12 ต่อแสนประชากร ไม่เกิน 13 ต่อแสนประชากร 17.64 ต่อแสนประชากร (4 ต.ค. 59) 2.ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่มีการจัดบริการ อาชีวอนามัย ให้แรงงานในชุมชน 60% / 5,882 แห่ง จาก 9,802 แห่ง 40% / 3,948 แห่ง จาก 9,802 แห่ง 47.69% / 4,675 แห่ง จาก 9,802 แห่ง 3. ร้อยละของการยกระดับการจัดบริการ อาชีวอนามัยให้แรงงานในชุมชน 10% ตัวชี้วัดใหม่ 4. จำนวนพื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ จว. ละ 1 แห่ง สคร. ละ 1 แห่ง 28 แห่ง จาก 10 สคร. ที่มา : สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ข้อมูล ณ วันที่ 5 ต.ค. 59 20

/ สรุปภาพรวมตัวชี้วัดงาน Env.-Occ. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ที่ ชื่อตัวชี้วัด KPI คำรับรอง KPI พรบ.งบประมาณ (สงป.) KPI เป้าหมายลดโรค/มาตรการตามแผนงานควบคุมโรค ต้องมีการรายงาน จาก สำนัก + สคร. สำนัก สคร. 1. แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)   1.1 จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน / 1.2 ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. ตัวชี้วัดตามพระราชบัญญัติงบประมาณ พ.ศ.2560 2.1 PSA12 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะได้รับการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ ตามแนวทาง/มาตรฐานด้านการควบคุมโรคของประเทศ 2.2 SDA 1447 จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ 2.3 SDA 1448 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะ มีความพึงพอใจต่อการบริการคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.4 SDA 1449 ร้อยละของโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผู้สัมผัสขยะ แล้วเสร็จ ตามเวลาที่กำหนด / (กองแผน ดึงข้อมูลจาก progress report) 21

/ / (กองแผน ดึงข้อมูลจาก progress report) สรุปภาพรวมตัวชี้วัดงาน Env.-Occ. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ต่อ) ที่ ชื่อตัวชี้วัด KPI คำรับรอง KPI พรบ.งบประมาณ (สงป.) KPI เป้าหมาย ลดโรค/มาตรการตามแผนงานควบคุมโรค ต้องมีการรายงานจาก สำนัก+สคร. สำนัก สคร. 2.5 PSA13 ร้อยละของเครือข่ายเป้าหมายดำเนินการเฝ้าระวัง และ ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านมลพิษทางอากาศในพื้นที่เสี่ยงตามแนวทาง/มาตรฐานด้านการควบคุมโรคของประเทศ   / 2.6 SDA1550 จำนวนเครือข่ายเป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ 2.7 SDA1551 ร้อยละของเครือข่ายเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ 2.8 SDA1552 ร้อยละของโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด / (กองแผน ดึงข้อมูลจาก progress report) 3. แผนงานยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 3.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้รับ การดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 3.2 จำนวนจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้นไป 3.3 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 3.4 ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการพัฒนาระบบ ในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 22

/ สรุปภาพรวมตัวชี้วัดงาน Env.-Occ. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ต่อ) 23 ที่ ชื่อตัวชี้วัด KPI คำรับรอง KPI พรบ.งบประมาณ (สงป.) KPI เป้าหมายลดโรค/มาตรการตามแผนงานควบคุมโรค ต้องมีการรายงานจาก สำนัก+สคร. สำนัก สคร. 4. แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม (กลุ่มวัยทำงาน) 4.1 จำนวนสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา   / 4.2 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข มีการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 4.3 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญมีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร KPI คำรับรองสำนัก 5. แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพกลุ่มแรงงานนอกระบบ/ภาคเกษตรกรรม 5.1 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิในพื้นที่สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน ตั้งแต่ระดับเริ่มต้นขึ้นไป KPI คำรับรองสำนัก และ สคร. 5.2 ร้อยละของการยกระดับการจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน 5.3 จำนวนพื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ 6. ตัวชี้วัดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม (นอกจากตัวชี้วัดมาตรการตามแผนงานควบคุมโรค) 6.1 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้โรงพยาบาลชุมชนในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการยกระดับการผ่านเกณฑ์การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาลให้สูงขึ้น 23

ขอบคุณ 24