การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Advertisements

บทที่ 5 การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
บริษัท สุรีย์ภรณ์ไหมไทย จำกัด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
นครศรีธรร มราช “ การ ท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ และ วัฒนธรรม ” ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) สรุปประเด็นสำคัญต่อ ยุทธศาสตร์ (Strategic.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ร่างหลักสูตร โครงการหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการนำเสนอข้อมูลต่อ รวอ. ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การท่องเที่ยวโดยชุมชน : ชุมชนสายยาว อำเภอเมืองบุรีรัมย์
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
จังหวัด พะเยา การวิเคราะห์ข้อมูล ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว (Rice Analysis)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดการความรู้ Knowledge Management
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัด แม่ฮ่องสอน

ผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ การตลาด พัฒนาระบบบริหาร จัดการ การท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวคุณภาพในเชิงนิเวศ วิถีชีวิต และสุขภาพ VC (ห่วงโซ่มูลค่า) : Product Champion (ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ) : การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ธรรมชาติและผจญภัย การบริหารจัดการ ผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ การตลาด 1 พัฒนาระบบบริหาร จัดการ การท่องเที่ยว 2 3 4 5 พัฒนา การตลาดและประชาสัมพันธ์ 6 พัฒนาศักยภาพมัคคุเทศน์ และบุคลากร พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้าน ท่องเที่ยว/ทรัพยากร พัฒนา แหล่งและกิจกรรม ท่องเที่ยว พัฒนา ธุรกิจบริการการท่องเที่ยว 1.1 การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) 1.2 การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (Carrying Capacity) 1.3 การบริหารจัดการฐานข้อมูลวัฒนธรรม ท้องถิ่นและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและเชิงนิเวศ(ธรรมชาติและการผจญภัย) ที่เป็นเอกลักษณ์ของแม่ฮ่องสอน 1.4 การพัฒนาและเชื่อมโยงเส้นทาง (Routes) การท่องเที่ยวระหว่างจังหวัด 1.5 การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการรักษาระบบนิเวศของแม่ฮ่องสอน 1.6 การสร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2.1 การพัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ท้องถิ่น/ผู้นำเที่ยวให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี ศาสนา และความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ รวมทั้งการท่องเที่ยวทางธรรมชาติและการผจญภัยของแม่ฮ่องสอนและสามารถถ่ายทอดเป็นภาษา ต่างประเทศได้หลายภาษา 2.2 การพัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ธรรมชาติและการผจญภัย ที่เป็นเอกลักษณ์ของแม่ฮ่องสอน 2.3 การส่งเสริมการรวมกลุ่มของชุมชนผู้ประกอบการด้านท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง 3.1 การพัฒนาและฟื้นฟูทรัพยากรทางการท่องเที่ยว 3.2 การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3.3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเส้นทางถนนทั้งภายในและระหว่างจังหวัด ป้ายบอกทางรวมทั้งเพิ่มจำนวนเที่ยวบิน และเพิ่มบริการรถขนส่งผู้โดยสารไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ในแม่ฮ่องสอน * 3.4 การจัดการปัญหาจากการท่องเที่ยว เช่น สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ 3.5 การพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา โครงข่ายโทรศัพท์และInternet 4.1 การสร้างสรรค์กิจกรรมท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ธรรมชาติและการผจญภัย ที่เป็นเอกลักษณ์ของแม่ฮ่องสอน 4.2 การส่งเสริมและพัฒนาให้แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ธรรมชาติและการผจญภัย ได้รับการรับรองมาตรฐาน 4.3 การฟื้นฟู/ปรับปรุง/พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆให้เป็นที่ดึงดูดนอกเหนือ จากแหล่งท่องเที่ยวหลัก (เช่น อุทยานไม้ดอกไม้ประดับ สวนสุขภาพ สวนสาธารณะ เป็นต้น) 4.4 การยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ห้องน้ำและน้ำดื่มสาธารณะ 5.1 การส่งเสริมและพัฒนาให้ธุรกิจที่พัก Guest- house/ Home stay และโรงแรมได้รับการรับรองมาตรฐาน 5.2 การส่งเสริมและพัฒนาให้ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ธรรมชาติและการผจญภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน (เช่น ร้านอาหารที่ปลอดภัย สถานบริการการดูแลสุขภาพและความเจ็บป่วยของนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ *ร้านอาหารพื้นเมือง ธุรกิจชา และกาแฟ เป็นต้น) 5.3 พัฒนามาตรฐานสินค้าของฝากและของที่ระลึกที่เป็นอัตลักษณ์ของแม่ฮ่องสอน 5.4 พัฒนามาตรฐานธุรกิจนำเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ธรรมชาติและการผจญภัย 6.1 การทำการ ตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ 6.2 สร้างเรื่องราวเชิงประสบการณ์และประชาสัมพันธ์เอกลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ธรรมชาติและการผจญภัยที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของแม่ฮ่องสอน 6.3 การตลาดเชิงรุกผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network 2

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) จังหวัดแม่ฮ่องสอน “การท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม ธรรมชาติ และผจญภัย” สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) โครงการสำคัญ / มาตรการ 1. ควรส่งเสริมและยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP ให้ได้มาตรฐาน เพื่อเพิ่มมูลค่าด้านการท่องเที่ยว โครงการพัฒนายกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP ที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน

กรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) จังหวัดแม่ฮ่องสอน “การท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม ธรรมชาติ และผจญภัย” 1. โครงการพัฒนายกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP ที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. ส่งเสริมและยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP ให้ได้มาตรฐาน 2. เพื่อเพิ่มมูลค่าด้านการท่องเที่ยว กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. รวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์ OTOP ด้านการท่องเที่ยวที่มีในจังหวัด 2. จัดลำดับผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ต้องการส่งเสริมให้เป็นอัตลักษณ์ของแม่ฮ่องสอน 3. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้จัก ผลิตภัณฑ์ OTOP (เช่น Website, วิทยุ และสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ) 4. เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ด้านการท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ควรเป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้แก่ น้ำมันงา กระเทียม เป็นต้น