งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นิติภัทร อำพันมาก ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชุมพร เขต 1
จงตอบคำถามต่อไปนี้ ถ้าพูดถึงการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ท่านนึกถึงอะไร ถ้าพูดถึงการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ท่านนึกถึงอะไร ถ้าพูดถึงระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ท่านนึกถึงอะไร
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทำไม ต้องมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ? ทำไม ต้องมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ? ใครทำ ? ทำอย่างไร ?
พัฒนาการและความต้องการของนักเรียน นโยบายของรัฐบาล สภาวะวิกฤติและปัจจัยเสี่ยง ที่เกิดขึ้นในสังคม ระบบการดูแล เด็กดี มีปัญญา มีความสุข ช่วยเหลือนักเรียน พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 จรรยาบรรณในวิชาชีพครู หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 การประกันคุณภาพ สถานศึกษา ความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน
มาตรการสู่การปฏิบัติ นโยบายสู่การปฏิบัติ สภาวะวิกฤติ ภัยสารเสพติด ความล้มเหลว ทางการเรียน / อาชีพ ภัยทางเพศ ความรุนแรง / การกลั่นแกล้ง / รังแก อุบัติภัย ฯลฯ นโยบาย สพฐ. สถานศึกษาทุกแห่งจัดให้มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและกำหนดมาตรการสนับสนุน ส่งเสริม ศักยภาพ นักเรียน เน้นกิจกรรมส่งเสริม พัฒนา ป้องกันแก้ ไขปัญหา และ การคุ้มครองสิทธิเด็ก โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาตรการสู่การปฏิบัติ 1.สร้างความเข้มแข็งให้โรงเรียนมีมาตรฐานในการจัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.จัดกิจกรรม ส่งเสริมความปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ ทางสังคม สิทธิเด็ก ตลอดจน ป้องกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียน เช่น ปัญหาสารเสพติด ปัญหาพฤติกรรม ปัญหาทางเพศ โดยประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กร ในท้องถิ่น 3.สร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เชื่อมโยงความรู้ สารสนเทศ และความร่วมมือระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน องค์กร และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 4.ประสานการจัดทำระบบข้อมูล สารสนเทศ เพื่อการพัฒนา ส่งเสริม แก้ไข และส่งต่อนักเรียนใน ทุกระดับและทุกประเภท
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็น กระบวนการเนินงาน ดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีขั้นตอนชัดเจน พร้อมทั้งมีวิธีการและเครื่องมือที่มีมาตรฐาน คุณภาพ และ มีหลักฐานการทำงานที่ตรวจสอบได้ โดยมีครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการดำเนินงาน และบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกสถานศึกษา อันได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้บริหารและครูทุกคน ฯลฯ มีส่วนร่วม
แนวการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน กำหนดทิศทาง / กลยุทธ์ -วิเคราะห์สภาพปัญหา - ศักยภาพของโรงเรียน - บริบทชุมชน นโยบาย สพฐ. กำหนดมาตรฐาน P การวางระบบและแบบแผนการดำเนินงาน ดำเนินงานตามระบบ การรู้จักนักเรียน การคัดกรอง การส่งเสริม การช่วยเหลือ / แก้ไข การส่งต่อ การประเมินและรายงาน D C การนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล A ปรับปรุง/พัฒนา/สรุป/รายงาน/ประชาสัมพันธ์
ปัจจัย กระบวนการ ผลผลิต - คณะผู้บริหาร - ครูประจำชั้น/ ครูที่ปรึกษา - คณะผู้บริหาร - ครูประจำชั้น/ ครูที่ปรึกษา - ครู และบุคลากร ที่เกี่ยวข้อง - ผู้ปกครอง - ชุมชน - งบประมาณ - ฯลฯ - การรู้จักนักเรียน เป็นรายบุคคล - การคัดกรอง นักเรียน - การส่งเสริม / พัฒนา - การป้องกัน / แก้ไข - การส่งต่อนักเรียน - ปริมาณนักเรียน ในกลุ่มเสี่ยงและ กลุ่มมีปัญหา ลด น้อยลง - นักเรียนมีพฤติ- กรรมเป็นไปตาม จุดประสงค์ที่ สถานศึกษากำหนด - นักเรียนมีคุณภาพ คุณลักษณะตามที่ สถานศึกษากำหนด ข้อมูลย้อนกลับ
แผนภูมิแสดงกระบวนการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษา 1. รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. คัดกรอง กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหา 3. ส่งเสริม/พัฒนา 4. ป้องกัน/แก้ไข 5. ส่งต่อ ภายใน ไม่ดีขึ้น พฤติกรรม ดีขึ้น รายงานผล
แผนภูมิการดำเนินงานแนะแนว คณะทำงานแนะแนว คัดกรอง กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหา ครูทุกคน ผู้ปกครอง/ชุมชน กลุ่มมีปัญหา ดำเนินกิจกรรมส่งเสริม/ป้องกัน/แก้ไข ยากต่อการช่วยเหลือ บรรลุเป้าหมาย ติดตามประเมิน ผู้เชี่ยวชาญ รายงานผล
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา การส่งเสริมและพัฒนา การจัด กิจกรรม โฮมรูม กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน การจัดประชุม ผู้ปกครองชั้นเรียน (classroom meeting) โครงการ พิเศษต่างๆ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา
การป้องกันช่วยเหลือและแก้ไข สื่อสารผู้ปกครอง กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมในชั้นเรียน การให้การปรึกษา กิจกรรมซ่อมเสริม การป้องกัน ช่วยเหลือและแก้ไข
แผนภาพแสดงกระบวนการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหานักเรียนของครูแนะแนว/ผู้เกี่ยวข้อง การส่งต่อนักเรียน รับนักเรียนต่อจากครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษา ให้การปรึกษา / ช่วยเหลือ ดีขึ้น พฤติกรรม ส่งกลับครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษา ให้ดูแลช่วยเหลือต่อไป ส่งต่อภายใน ไม่ดีขึ้น ประชุมปรึกษารายกรณี (Case Conference) ดีขึ้น พฤติกรรม ไม่ดีขึ้น / ยากต่อการช่วยเหลือ ส่งต่อภายนอก ส่งต่อผู้เชี่ยวชาญภายนอก
ผลสำเร็จของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน บุคลากรทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผู้รับผิดชอบ วางระบบและดำเนินงานตามระบบ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนสามารถบูรณาการ เข้ากับภารกิจของโรงเรียนได้
สร้างบรรยากาศการทำงานแบบมีส่วนร่วมและ เป็นประชาธิปไตย มีสารสนเทศของระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน มีข้อมูลการนิเทศ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงาน สรุปรายงานและประชาสัมพันธ์