งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสอนควบคู่กับการเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสอนควบคู่กับการเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การสอนควบคู่กับการเรียน
การอ่านคิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความหมาย คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระ การเรียนรู้ 8 สาระ กำหนด ผลการเรียนรู้ รายข้อ/รายปีหรือภาค ศักยภาพในการอ่าน คิด สรุป สังเคราะห์ สร้างสรรค์ ถ่ายทอด ด้วยการเรียน กำหนด สถานศึกษากำหนด คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กำหนดเกณฑ์ กิจกรรม/เวลา ขั้นตอน 1.กำหนดมาตรฐาน/ตัวชี้วัด 2.ลักษณะแนวทาง วิธีการประเมิน - การศึกษาค้นคว้ารายงานค่า - ผลงานเชิงประจักษ์ เกี่ยวการอ่าน การคิด วิเคราะห์ การเขียน และการนำเสนอในรูป - การทดสอบ 3.เกณฑ์การตัดสิน 4.แนวทางตัดสิน ประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน ดีเยี่ยม/ดี/ผ่านเกณฑ์การประเมิน ประเมิน ระหว่างเรียน/รายปี/ ภาคช่วงชั้น ให้ความสำคัญระหว่าง เรียนมากกว่ารายปี ประเมินตาม ความสามารถ สังเกตพัฒนาการและ ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การสอนควบคู่กับการเรียน แต่งตั้งคณะกรรมการ ครู-ผู้ปกครอง/ชุมชน ประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน กำหนดกิจกรรม ระหว่างเรียน นอกห้องเรียน ประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน ประเมิน ดีเยี่ยม/ดี/ควรปรับปรุง/ ผ่านเกณฑ์การประเมิน

3 การสอนควบคู่กับการเรียน
กลุ่มสาระ การเรียนรู้ 8 สาระ กำหนด ผลการเรียนรู้ รายข้อ/รายปีหรือภาค ประเมิน ระหว่างเรียน/รายปี/ ภาคช่วงชั้น ให้ความสำคัญระหว่าง เรียนมากกว่ารายปี ประเมินตาม ความสามารถ สังเกตพัฒนาการและ ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การสอนควบคู่กับการเรียน

4 การอ่านคิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความหมาย ศักยภาพในการอ่าน
คิด สรุป สังเคราะห์ สร้างสรรค์ ถ่ายทอด ด้วยการเรียน ขั้นตอน 1.กำหนดมาตรฐาน/ตัวชี้วัด 2.ลักษณะแนวทาง วิธีการประเมิน - การศึกษาค้นคว้ารายงานค่า - ผลงานเชิงประจักษ์ เกี่ยวการอ่าน การคิด วิเคราะห์ การเขียน และการนำเสนอในรูป - การทดสอบ 3.เกณฑ์การตัดสิน 4.แนวทางตัดสิน ประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน ดีเยี่ยม/ดี/ผ่านเกณฑ์การประเมิน

5 คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กำหนด สถานศึกษากำหนด คุณลักษณะ อันพึงประสงค์
แต่งตั้งคณะกรรมการ ครู-ผู้ปกครอง/ชุมชน กำหนดกิจกรรม ระหว่างเรียน นอกห้องเรียน ประเมิน ดีเยี่ยม/ดี/ควรปรับปรุง/ ผ่านเกณฑ์การประเมิน

6 กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน กำหนดเกณฑ์ กิจกรรม/เวลา ประเมิน ผ่าน/ไม่ผ่าน

7 การ ตัดสิน ผล เรียน ผ่าน ช่วงชั้น
ผ่านทุกวิชา 8 กลุ่มสาระ การ ตัดสิน ผล เรียน ผ่าน ช่วงชั้น อ่าน คิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความ ผ่าน ผ่าน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ผ่านทุกกิจกรรม

8 1.การประเมินผลการเรียนตามกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ 8 กลุ่ม การประเมินผลก่อนการเรียน การประเมินผลระหว่างเรียน การประเมินเพื่อสรุปผลการเรียน

9 2.การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ลักษณะกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ - กิจกรรมแนะแนว - กิจกรรมนักเรียน แนวทางการดำเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนพัฒนาผู้เรียน ผ่านช่วงชั้น

10 3.การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมิน กำหนดคุณลักษณะของสถานศึกษา - กำหนดแนวทางการพัฒนา - ดำเนินการประเมินรายภาคแต่ละภาค - ประมวลผลการประเมินรายภาค - การแจ้งผลและซ่อมเสริม - การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านช่วงชั้น

11 4.การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
ขั้นตอนดำเนินการประเมิน แนวทางการประเมินความสามารถทางการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนความ ปลายปี แนวทางการประเมินตัดสินการอ่านคิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ ผ่านช่วงชั้น

12 5.การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ
ป.3,ป.6,ม.3,ม.6

13 การวัดและการประเมินผล หมายถึง กระบวนการต่อเนื่องกัน โดยเริ่มด้วยการวัด
แล้วนำผลการวัดไปทำการประเมินตัดสินเกณฑ์และดุลยพินิจต่อไป มีบทบาท และหน้าที่สำคัญ ดังนี้ 1. การวัดและการประเมินผล เป็นองค์ประกอบหนึ่งของระบบการศึกษา 2. การวัดและการประเมินผล เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน 3. การวัดและการประเมินผล เป็นเครื่องมือประกันคุณภาพทางวิชาการ 4. การวัดและการประเมินผล ทำหน้าที่ตรวจสอบผลการเรียนรู้

14 1. วัดและประเมินผลสอดคล้องความเป็นจริง (Relevance)
2. วัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบ 3. วัดและประเมินผลด้วยเครื่องมือที่ดีมีคุณภาพ

15 การวัดและประเมินผลเป็นกระบวนการที่เป็นระบบ ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้
ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ 6. จัดทำเครื่องมือ 2. กำหนดคุณลักษณะที่จะวัด 7. ดำเนินการวัด 3. กำหนดเครื่องมือหรือวิธีการวัด 8. ตรวจให้คะแนน 4. สร้างเครื่องมือ 9. ประเมินผล 5. ตรวจคุณภาพเครื่องมือ 10. ใช้ผลการวัดและประเมิน

16 1. ประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ
2. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน 5. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (National Test)

17 1. การประเมินผลก่อนเรียน
2. การประเมินผลระหว่างเรียน 3. การประเมินผลเพื่อสรุปผลการเรียน

18 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน

19 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีแนวทาง ในการดำเนินงาน ดังนี้
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีแนวทาง ในการดำเนินงาน ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของสถานศึกษา 2. กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา

20 เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่านหนังสือ เอกสารและสื่อต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่ว และนำมาคิดสรุปเป็นความรู้ความเข้าใจของตน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์เนื้อหาสาระของเรื่องที่อ่าน ซึ่งนำไปสู่การสังเคราะห์ สร้างสรรค์ และแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ และความสามารถในการถ่ายทอดความคิดเหล่านั้นด้วยการเขียนสื่อความ

21 การประเมินผลการเรียนระดับชาติ มีลักษณะที่เป็นคุณประโยชน์ดังนี้
1. ทำให้สามารถเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพระหว่างระดับชั้นเรียนระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ ตลอดจนการประเมินภายนอก 2. สามารถประเมินได้ทั้งผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการตามหลักสูตรและความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude Test : SAT) 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้สถานศึกษาให้ความสนใจอย่างจริงจัง ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ 4. สามารถใช้ผลการประเมินให้เป็นประโยชน์ทั้งในระดับผู้เรียน ระดับชั้นเรียน สถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ 5. สร้างแรงจูงใจกระตุ้นและท้าทายให้ผู้เรียนทุกคนตั้งใจใฝ่หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 6. เพื่อเป็นข้อมูลสร้างความมั่นใจเกี่ยวกับคุณภาพของผู้เรียนผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

22 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา
1. ประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ 2. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

23 ความหมายของการประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผล หมายถึง การสังเกตหรือการประเมินพฤติกรรมของบุคคลใดบุคคลหนึ่งแล้วกำหนดตัวเลขหรือคะแนนให้กับสิ่งที่วัดตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ การประเมินผล หมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินคุณภาพคุณลักษณะของพฤติกรรม ปริมาณพฤติกรรมว่าเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของการสอนหรือไม่

24 1. ศึกษาพัฒนาการ ความเปลี่ยนแปลงและความพร้อม
ในการเรียนของเด็ก 2. วัดพัฒนาการและลักษณะพิเศษของเด็กปฐมวัยในทุกด้าน 3. นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินมาเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมให้กับเด็ก 4. ช่วยให้ทราบถึงความต้องการและลักษณะพิเศษของเด็ก 5. เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กเพื่อรายงานผลให้ผู้ปกครองทราบ

25 1. ประเมินพัฒนาการทุกด้าน
2. ประเมินอย่างต่อเนื่อง 3. ประเมินหลายๆ ครั้งก่อนสรุปผล 4. ผลการประเมินควรเก็บเป็นความลับ 5. เลือกวิธีการประเมินที่เหมาะสมกับเรื่องที่ประเมิน 6. ควรใช้เครื่องมือที่มีความยาก - ง่ายในระดับเดียวกับพัฒนาการเด็ก 7. เลือกพฤติกรรมที่จะประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการประเมิน 8. การสรุปผลประเมินต้องมีความเป็นปรนัยไม่ใส่ความรู้สึกเข้าไป 9. การประเมินมิได้มุ่งนำผลการประเมินมาตัดสินการเลื่อนชั้นของเด็ก 10. ปลายปีสุดท้ายของการศึกษาระดับปฐมวัย ครูควรนำผลการประเมินมาพิจารณาตัดสิน ความพร้อมที่จะเลื่อนชั้นไปเรียนในระดับประถมศึกษา

26 1. ศึกษาและทำความเข้าใจพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงอายุ
2. วางแผนเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือการประเมินให้เหมาะสม กับสิ่งที่ต้องการวัด 3. ดำเนินการประเมินผลและบันทึกพัฒนาการ 4. การประเมินควรประเมินหลายๆ ครั้ง แล้วจึงสรุปผลการประเมิน 5. รายงานผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ 6. ครูควรยกย่องผู้ปกครองที่พยายามมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก

27 1. การสังเกต 2. การสัมภาษณ์ 3. แฟ้มสะสมผลงาน 4. แบบประเมินพัฒนาการ 5. แบบทดสอบ 6. การประเมินตามสภาพจริง


ดาวน์โหลด ppt การสอนควบคู่กับการเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google