EHA กรมอนามัย การดำเนินงานของกลุ่ม อวล + เลขานุการอสธจ. การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ข้อมูล ให้ความรู้ ปกป้องสิทธิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Advertisements

เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
สถานการณ์ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม. สถานการณ์การออกเทศบัญญัติ / ข้อกำหนด เทศ บัญญัติ / ข้อกำหน ด กาฬสินธุ์ (%) ขอนแก่ น (%) มหาสารคา ม (%) ร้อยเอ็ ด (%)
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นพ.มรุต จิรเศรษฐสิริ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 10.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดสุพรรณบุรี คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
Website กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ hia.anamai.moph.go.th QR code
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ทิศทางการดำเนินงาน สุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ปี 2557
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
จังหวัดสมุทรปราการ.
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

EHA กรมอนามัย การดำเนินงานของกลุ่ม อวล + เลขานุการอสธจ. การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ข้อมูล ให้ความรู้ ปกป้องสิทธิ เน้นการมีส่วนร่วม เชื่อมเครือข่าย อปท. มีการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี การขับเคลื่อนงาน/ แก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด อปท.ปฏิบัติหน้าที่ตามพรบ. สธ/ท้องถิ่นเข้มแข็ง บุคลากรของอปท. มีความรู้/มีความพร้อมในการทำงานอนามัยสิ่งแวดล้อม มีเครือข่าย ข้อมูล และสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมของจังหวัด ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของอปท.ได้มาตรฐาน หลักสูตรฝึกอบรม เอกสาร/ข้อมูลวิชาการ/คู่มือปฏิบัติงาน/ช่องทางสื่อสาร แนวทางการจัดทำข้อมูล และสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมของจังหวัด EHA สนับสนุนอปท./แนวทางออกข้อกำหนดท้องถิ่น/กฎกระทรวง/คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข กรมอนามัย

ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ตัวชี้วัด ดัชนี และสารสนเทศ เป็นส่วนประกอบพื้นฐานของการสร้างตัวชี้วัด ดัชนี และสารสนเทศ โดยส่วนใหญ่แล้วข้อมูลไม่มีความสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์สิ่งแวดล้อมได้ ความสำคัญของข้อมูลจึงขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของข้อมูล คุณภาพของข้อมูล และการเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวชี้วัด เป็นผลลัพธ์ที่ได้มาจากการวิเคราะห์ข้อมูล และเป็นเครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงโดยจะให้ความรู้เกี่ยวกับสภาพการณ์และแนวโน้มของการพัฒนา นอกจากนี้ ตัวชี้วัดสามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการทำแผนและนโยบายของหน่วยงานใดๆ ดัชนี ถูกสร้างขึ้นจากตัวชี้วัดตั้งแต่สองตัวขึ้นไป โดยทั่วไปแล้วมักใช้ในการวิเคราะห์เพื่อแสดงให้เห็นภาพรวมในระดับประเทศหรือระดับภูมิภาค สารสนเทศ ถูกสร้างขึ้นจากตัวชี้วัดหรือดัชนี สารสนเทศเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการตัดสินใจ เพื่อให้การวิเคราะห์มีความครบถ้วนและถูกต้อง

ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม(Surveilance) อนามัยสิ่งแวดล้อม(Risk Management) รายละเอียดตัวชี้วัด เป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนา ควบคุม กำกับและติดตามงานอนามัยสิ่งแวดล้อม(M&E) การเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม(Surveilance) บ่งชี้สถานการณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อม(Risk Management) Evaluate อปท. 1.อปท.ต้นแบบที่มีการดำเนินงาน EHA 2.อปท.ที่มีการจัดการมูลฝอย/สิ่งปฏิกูล ถูกสุขลักษณะ 3.อปทมีการจัดการตลาดนัด/กิจการโรงน้ำแข์ง ประชาชน 1.ประชาชนมีพฤติกรรมอนามัย ที่ถูกต้อง 2.ชุมชนต้นแบบสุขาภิบาลยั่งยืนฯ กรมอนามัย มาตรฐานวิชาการ/การพัฒนาศักยภาพ Monitor 1.ตัวชี้วัดกระทรวง 2.ระบบเตือนภัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3.ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 1. ความเสี่ยงจากการปนเปื้อนในอาหาร 2. คุณภาพน้ำบริโภค 3. การจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอย โดย Manifest system 4. คุณภาพอากาศ Indoor air ในพื้นที่เสี่ยง เช่น ศูนย์เด็กเล็ก 5. สาธารณภัย เช่น หมอกควัน 6. การเตรียมการสำหรับการรองรับ AC เช่น การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมบริเวณพื้นที่ชายแดน ด่านตรวจคนเข้าเมือง Basic EH 1. อาหาร - การปนเปื้อน - สถานประกอบการได้มาตรฐาน 2. น้ำ - คุณภาพน้ำบริโภคประเภทต่างๆ เช่น น้ำประปา น้ำจากตู้หยอดเหรียญ - อัตราป่วยด้วยโรคอาหารและน้ำเป็นสื่อ 3. คุณภาพอากาศ – AQI 4. ขยะมูลฝอย - การจัดการมูลฝอยของ อปท. (ขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะอันตราย) 5. สิ่งปฏิกูล - การจัดการสิ่งปฏิกูลของ อปท. Advance EH

Server Clound จนท. Environmental Health Education Environmental Health Information Control System Environmental Health Education หลักสูตร / SOP Inspector Tool Standard (มาตรฐาน) ยุทธศาสตร์ การคุ้มครองสิทธิด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม พรบ.ข้อมูลข่าวสาร พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (หมวด 7,8,9) กฎกระทรวงฯ มาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม Environmental Health Risk Alert Warning Guideline Executive ผู้บริหาร Expert System จนท. Data Warehouse คลังข้อมูล Inspector Tool จนท.ท้องถิ่น Application ผู้บริโภค การจัดการขยะติดเชื้อในโรงพยาบาล พื้นที่เสี่ยง พัฒนาระบบ - Executive Expert Risk Evaluation Server Clound พัฒนาระบบ Inspector Tool พื้นที่เสี่ยง ขยะติดเชื้อ National Environmental Health InformationSystem(NEHIS) EHA1001-1003อาหาร EHA2001-2003น้ำ EHA3001-3002 สิ่งปฏิกูล EHA4001-4002,มูลฝอย EHA5000-9000 สุขภาพ

ประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ประเด็นงานอวล.ที่สำคัญ มูลฝอย สิ่งปฏิกูล โรงผลิตน้ำแข็ง ตู้น้ำหยอดเหรียญ ตลาดนัด การใช้มาตรการทางกฎหมาย สารบัญญัติ ตาม พรบ.สธ.35 หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอย หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยง / ปล่อยสัตว์ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่ / ทางสาธารณะ ประเด็นอื่นๆ สุขาภิบาลอาหาร น้ำบริโภค การจัดการเหตุรำคาญ การควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การจัดการในภาวะฉุกเฉิน ประเด็นงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ประเด็นปัญหาที่หน่วยงานด้านสาธารณสุขเกี่ยวข้องโดยตรง เช่น การจัดการขยะติดเชื้อในโรงพยาบาล ประเด็นปัญหาใน พ.ร.บ.การสาธารณสุข เช่น การจัดการขยะและสิ่งปฏิกูลไม่ถูกสุขลักษณะและเกิดปัญหาหรือความเสี่ยงต่อสุขภาพประชาชน ข้อร้องเรียนจากเหตุรำคาญตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข สุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร ตลาด และคุณภาพน้ำบริโภค

ประเด็นปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ กลุ่มที่ 1 การจัดการของเสียจากโรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข: - มูลฝอยติดเชื้อของ รพ.ทุกประเภท - ระบบบำบัดน้ำเสียใน รพ. ศูนย์, รพ.ทั่วไป และ รพ.ชุมชน กลุ่มที่ 2 การคุ้มครองสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่สำคัญ ได้แก่ พื้นที่เหมืองทอง พื้นที่เหมืองเก่า พื้นที่ที่มีปัญหาขยะอิเลคทรอนิคส์ พื้นที่มีปัญหามลพิษทางอากาศ พื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้ำ (สุขาภิบาลอาหาร การจัดการสิ่งปฏิกูล) กลุ่มที่ 3 การคุ้มครองประชาชนในพื้นที่ทั่วไป ได้แก่ มูลฝอยทั่วไป ตลาดนัด น้ำบริโภค ตู้น้ำหยอดเหรียญ โรงน้ำแข็ง มาตรการทางกฎหมายสาธารณสุข และอื่นๆ ตามสภาพปัญหาและความจำเป็นของแต่ละพื้นที่

จะสร้างหรือพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสถานการณ์ อย่างไร ? หมวด 9 การจำหน่ายสินค้า ในที่หรือทางสาธารณะ หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร พรบ.สธ. 2535 หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหาร และสถานที่สะสมอาหาร หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยงปล่อยสัตว์ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

จะสร้างหรือพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสถานการณ์ อย่างไร ? EHA 1000 การสุขาภิบาลอาหาร EHA 9000 การบังคับใช้กฎหมาย EHA 2000 การจัดการคุณภาพน้ำ EHA 8000 การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ พัฒนาระบบการให้บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) EHA 3000 การจัดการสิ่งปฏิกูล EHA 7000 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ EHA 4000 การจัดการมูลฝอย EHA 6000 การจัดการเหตุรำคาญ EHA 5000 การรองรับภาวะฉุกเฉินและภับพิบัติ

จะสร้างหรือพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสถานการณ์ อย่างไร ? หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย EHA 4000 การจัดการมูลฝอย มูลฝอยทั่วไป ปริมาณ/องค์ประกอบมูลฝอยทั่วไป วิธี / แหล่งกำจัด การขนส่ง แหล่งที่เป็นปัญหาการเก็บขน ผู้ที่อาจได้รับผลกระทบ บริเวณลักลอบทิ้ง มูลฝอยตกค้าง เครือข่าย ? เครื่องมือตรวจ ? ถังมูลฝอย

จะสร้างหรือพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสถานการณ์ อย่างไร ? หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย EHA 5000 การจัดการสิ่งปฏิกูล สิ่งปฏิกูล การกำจัดสิ่งปฏิกูล ส้วมสาธารณะที่ได้มาตรฐาน การขนส่งสิ่งปฏิกูล จำนวนส้วมสาธารณะ บริเวณลักลอบทิ้ง ผู้ที่อาจได้รับผลกระทบ เครือข่าย ? รถเถื่อน

ตัวอย่างประเด็นสำหรับจัดทำสถานการณ์ฯ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มูลฝอยติดเชื้อ (ระบบกำกับติดตาม การกำจัด) มูลฝอยทั่วไป (การเก็บขน กำจัด การจัดการของ อปท.) ตลาดนัด (จำนวน ได้รับใบอนุญาต ถูกสุขลักษณะ การออกเทศบัญัติ ) น้ำบริโภค (ประเภทแหล่งน้ำ ความพอเพียงต่อการบริโภค ความสะอาด) ตู้น้ำหยอดเหรียญ (ความสะอาด ถูกสุขลักษณะ การควบคุมตามกฎหมาย) โรงน้ำแข็ง (ความสะอาด ถูกสุขลักษณะ การควบคุมตามกฎหมาย) มาตรการทางกฎหมายสาธารณสุข (การออข้อกำหนดท้องถิ่น และการบังคับใช้) พื้นที่เสี่ยง (พื้นที่ที่มีมลพิษสิ่งแวดล้อมที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพ)

ตัวอย่างข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐานที่สำคัญ มีการจัดการมูลฝอยทั่วไปได้ดี 1.1 มีร้อยละมูลฝอยทั่วไปได้รับการเก็บขน (≥ ร้อยละ 80) 1.2 มีการกำจัดมูลฝอยทั่วไปถูกหลักสุขาภิบาล 1.3 มีการใช้มาตรการทางกฎหมายสาธารณสุขในการจัดการมูลฝอย 1.3.1 มีการออกเทศบัญญัติ ตาม พรบ.การสาธารณสุข 2535 หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย 1.3.2 มีบริการเก็บ ขน มูลฝอยทั่วไป 1.3.3 มีบริการกำจัดมูลฝอยทั่วไป 2. มีการจัดการสิ่งปฏิกูลที่ดี 2.1 มีส้วมใช้ทุกหลังคาเรือน (ร้อยละ 100) 2.2 มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลในพื้นที่ถูกหลักสุขาภิบาล 2.3 มีการให้บริการสูบสิ่งปฏิกูลครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบ (≥ ร้อยละ 85) 2.4 มีการใช้มาตรการทางกฎหมายสาธารณสุขในการจัดการสิ่งปฏิกูล 2.4.1 มีการออกเทศบัญญัติ าม พรบ.การสาธารณสุข 2535 หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย 2.4.2 มีบริการสูบสิ่งปฏิกูลที่ถูกหลักสุขาภิบาลและถูกต้องตามกฎหมาย 2.4.3 มีบริการบำบัดสิ่งปฏิกูลที่ถูกหลักสุขาภิบาลและถูกต้องตามกฎหมาย

ตัวอย่างข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐานที่สำคัญ 3. มีระบบการจัดการเหตุรำคาญ 3.1 มีระบบการจัดการข้อร้องเรียนเหตุรำคาญ 3.2 มีฐานข้อมูลการจัดการข้อร้องเรียนเหตุรำคาญ 3.3 ข้อร้องเรียนเหตุรำคาญได้รับการจัดการและแก้ไขจนเป็นที่ยุติ (≥ ร้อยละ 80) 4. มีการจัดการสุขาภิบาลอาหารที่ดี 1) มีการจัดการสุขาภิบาลตลาดที่ดี - ตลาดประเภทที่ 1 4.1 ตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อของกรมอนามัย (≥ ร้อยละ 80) 4.2 มีการใช้มาตรการกฎหมายสาธารณสุข เพื่อควบคุมตลาดประเภทที่ 1 4.2.1 มีการออกเทศบัญญัติ ตามพรบ. การสาธารณสุข 2535 หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร 4.2.2 จำนวนตลาดประเภทที่ 1 ที่ดำเนินการออกใบอนุญาตทั้งหมด

ตัวอย่างข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐานที่สำคัญ - ตลาดประเภทที่ 2 (ตลาดนัด) 4.3 ตลาดประเภทที่ 2 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตลาดนัดของกรมอนามัย (≥ ร้อยละ 80) 4.4 มีการใช้มาตรการกฎหมายสาธารณสุข เพื่อควบคุมตลาดประเภทที่ 2 4.4.1 มีการออกเทศบัญญัติ ตามพรบ. การสาธารณสุข 2535 หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร 4.4.2 จำนวนตลาดประเภทที่ 2 ที่ดำเนินการออกใบอนุญาตทั้งหมด

ตัวอย่างข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐานที่สำคัญ 2) มีการจัดการสุขาภิบาลอาหารสำหรับสถานประกอบการด้านอาหารที่ดี - ร้านอาหาร 4.5 ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร ของกรมอนามัย (≥ ร้อยละ 80) 4.6 มีการใช้มาตรการทางกฎหมายสาธารณสุขในการควบคุมร้านอาหาร 4.6.1 มีการออกเทศบัญญัติตาม พรบ.การสาธารณสุข 2535 หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (ประเภทที่ 3 การประกอบกิจการเกี่ยวกับอาหาร) 4.6.2 มีการออกเทศบัญญัติ ตามพรบ. การสาธารณสุข 2535 หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร 4.6.3 มีการออกเทศบัญญัติตาม พรบ.การสาธารณสุข 2535 หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ (เกี่ยวกับอาหาร) 4.6.4 จำนวนร้านอาหาร ที่ดำเนินการออกใบอนุญาตทั้งหมด 4.6.5 จำนวนร้านอาหาร ที่ดำเนินการออกหนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด ตามพรบ. การสาธารณสุข 2535 หมวด 8 (ร้านอาหารมีพื้นที่ <200 ตารางเมตร)

EHD Template บันทึกและนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ฯ พร้อมคู่มือการใช้งาน แยกประเด็นบันทึกข้อมูล และส่วนประมวลผล

เพิ่มความสะดวกส่วนประมวลผล ง่ายสำหรับนำไปใช้ประโยชน์

ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health Database) การพัฒนาระบบรวบรวม ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health Database)

ตัวอย่างสถานการณ์ ปี 2557 (สำรวจปี 2558)

ตัวอย่างสถานการณ์ ปี 2557 (สำรวจปี 2558)