งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
จรูญ วรวาส

2 เนื้อหา หมวดนิยาม หมวดทั่วไป หมวด ๑ บททั่วไป
หมวด ๒ การดำเนินการด้านความปลอดภัยทางรังสี หมวด ๓ พื้นที่ควบคุมและพื้นที่ตรวจตรา หมวด ๔ สัญลักษณ์ทางรังสี หมวด ๕ ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี หมวด ๖ ขีดจำกัดปริมาณรังสี หมวด 7 ขีดจำกัดการเปรอะเปื้อนทางรังสี

3 หมวดนิยาม ความปลอดภัยทางรังสี มาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี
พื้นที่ควบคุม พื้นที่ตรวจตรา ปริมาณรังสีสมมูล ปริมาณรังสียังผล ผู้ปฏิบัติงาน ผู้รับใบอนุญาต ผู้แจ้ง

4 หมวดนิยาม

5 หมวด ๑ บททั่วไป ...ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคลหรือสังคมมากกว่าผลเสีย…
…ปลอดภัยต่อบุคคล ประชาชน และสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ …มีมาตรการควบคุมให้ได้รับรังสีน้อยที่สุดเท่าที่จะสามารถดำเนินการได้อย่างสมเหตุสมผล (ALARA) …ความเป็นไปได้ในการได้รับรังสีและปริมาณรังสีที่จะได้รับความเสี่ยงทางรังสี...

6 หมวด ๑ บททั่วไป

7 หมวด ๒ การดำเนินการด้านความปลอดภัยทางรังสี
...จะต้องมีมาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี...ไม่ต่ำกว่ากฎกระทรวง ...ทบทวนและตรวจสอบมาตการฯ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ...มาตรการฯ ที่ได้รับความเห็นชอบจาก ลปส. ...หากต้องการแก้ไขต้องไปรับความเห็นชอบจาก ลปส...

8 หมวด ๒ การดำเนินการด้านความปลอดภัยทางรังสี

9 หมวด ๓ พื้นที่ควบคุมและพื้นที่ตรวจตรา
กำหนดพื้นที่ควบคุมและพื้นที่ตรวจตรา มาตรการฯ ที่เหมาะสมในพื้นที่ควบคุม ... ไม่น้อยกว่า ๗ ข้อตามกฎกระทรวง มาตรการฯ ที่เหมาะสมในพื้นตรวจตรา ... ไม่น้อยกว่า ๒ ข้อตามกฎกระทรวง มีการบันทึกและตรวจตราความปลอดภัยทางรังสีที่เหมาะสมในพื้นที่ควบคุมและพื้นที่ตรวจตรา

10 หมวด ๓ พื้นที่ควบคุม และพื้นที่ตรวจตรา

11 มาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี
พื้นที่ตรวจตรา มาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี กำหนดขอบเขตพื้นที่ฯด้วยวิธีการที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงปริมาณรังสี ที่คาดว่าจะได้รับจากการปฏิบัติงานตามปกติและจากอุบัติเหตุหรือเหตุการณ์ใด ๆ อันอาจคาดหมายได้ ติดตั้งสัญลักษณ์ทางรังสีพร้อมข้อความเตือนภัยที่เหมาะสมณ บริเวณ ทางเข้าพื้นที่ตรวจตรา มาตรการเพื่อการรักษาความปลอดภัยทางรังสี

12 มาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี
พื้นที่ควบคุม มาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี กำหนดขอบเขตพื้นที่ฯโดยใช้อุปกรณ์ทางกายภาพ หรือด้วยวิธีการที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงปริมาณรังสี ที่คาดว่าจะได้รับจากการปฏิบัติงานตามปกติและจากอุบัติเหตุหรือเหตุการณ์ใด ๆ อันอาจคาดหมายได้ กรณีเคลื่อนย้าย จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ต้องกำหนดขอบเขตพื้นที่ฯด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับพฤติการณ์ และจะต้องระบุช่วงเวลาที่อาจได้รับรังสีในพื้นที่ฯ นั้น ติดตั้งสัญลักษณ์ทางรังสีพร้อมข้อความเตือนภัยที่เหมาะสมณ บริเวณ ทางเข้าพื้นที่ตรวจตรา กำหนดมาตรการเพื่อควบคุม การแพร่กระจายของการปนเปื้อนทางรังสีบนพื้นผิว กำหนดระเบียบและขั้นตอนปฏิบัติงาน กำหนดมาตรการควบคุมการเข้าถึงพื้นที่ฯ โดยเคร่งครัด จัดให้มีพื้นที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องใช้ที่เหมาะสม ณ บริเวณทางเข้าของ พื้นที่ควบคุม เช่น อุปกรณ์ป้องกัน อุปกรณ์ตรวจสอบ หรือที่เก็บของ จัดให้มีพื้นที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องใช้ที่เหมาะสม ณ บริเวณทางออกของ พื้นที่ควบคุม เช่น อุปกรณ์ส าหรับตรวจวัดการปนเปื้อนทางรังสีบนพื้นผิว ที่ช าระล้าง หรือที่เก็บของปนเปื้อน กำหนดมาตรการเพื่อการรักษาความปลอดภัยทางรังสีที่เหมาะสม

13 หมวด ๔ สัญลักษณ์ทางรังสี
ติดตั้งสัญลักษณ์ทางรังสีพร้อมข้อความเตือนภัยที่เหมาะสมแสดงให้เห็นชัดเจนที่บริเวณทางเข้าพื้นที่ควบคุมและพื้นที่ตรวจตรา...และอื่นๆตามที่กฎกระทรวงกำหนด สัญลักษณ์ทางรังสีตามแนบท้ายกฎกระทรวง

14 หมวด ๔ สัญลักษณ์ทางรังสี

15

16 หมวด ๕ ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี
...ต้องไม่ให้ผู้ที่มีอายุต่ำกว่าสิบหก เข้าพื้นที่ควบคุม /ตรวจตรา เว้นแต่.. ...ต้องไม่ให้ผู้ที่มีอายุสิบหกแต่ไม่เกินสิบแปดปี ปฏิบัติงานในพื้นที่ควบคุม เว้นแต่.. ---ต้องควบคุมดูแล……ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ......ที่กฎหมายกำหนดและละเว้นการกระทำ.....ก่ออันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม ...ต้องมีการประเมินการได้รับรังสี เก็บบันทึกรังสีประจำบุคคล และการเฝ้าระวังสุขภาพแก่ผู้ปฏิบัติงาน ...ต้องจัดให้มีข้อมูล คำแนะนำ และฝึกอบรม... อย่างน้อยต้องมี... ...หญิงมีครรภ์หรืออยู่ระหว่างการให้นมบุตร...

17 หมวด ๕ ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี

18 หมวด ๕ ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี

19 ผู้ปฏิบัติงาน อายุต่ำกว่าสิบหกปี
ไม่ให้เข้าไปพื้นที่ตรวจตราและพื้นที่ควบคุม หรือปฏิบัติงานใดๆกับรังสี ยกเว้นมารับบริการทางการแพทย์ อายุตั้งแต่สิบหกปีแต่ไม่เกินสิบแปดปี ปฏิบัติงานในพื้นที่ควบคุม หรือปฏิบัติงานใดๆกับรังสี ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมอย่างใกล้ชิดของผู้ปฏิบัติงานทางรังสี อายุมากกว่าสิบแปดปี ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับความปลอดภัยตามที่กฎหมายกำหนด และ ละเว้นการกระทำใด ๆ ในประการที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม หญิงมีครรภ์หรืออยู่ระหว่างการให้นมบุตร ได้แจ้งถึงการตั้งครรภ์หรือการให้นมบุตรให้ผู้รับใบอนุญาตหรือผู้แจ้ง เพื่อปรับเปลี่ยนลักษณะการปฏิบัติงาน

20 ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ศึกษา ผู้ฝึกงาน ผู้รับการฝึกอบรม ต้องจัดให้มีการประเมินการได้รับรังสี การเก็บบันทึกผลการได้รับรังสีประจำบุคคล และการเฝ้าระวังสุขภาพที่เหมาะสมแก่ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ต้องจัดให้มีข้อมูล คำแนะนำ และการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยทางรังสีที่เหมาะสม เมื่อพบเห็นเหตุอันตรายหรือเหตุที่อาจก่อให้เกิดอันตรายหรือกระทบกระเทือน ต่อความปลอดภัยทางรังสี ให้แจ้งให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ผู้รับใบอนุญาต หรือผู้แจ้งทราบ โดยเร็ว

21 หมวด ๖ ขีดจำกัดปริมาณรังสี
ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี หญิงมีครรภ์หรืออยู่ระหว่างการให้นมบุตร สิบหกปีแต่ไม่เกินสิบแปดปี ประชาชนทั่วไป กรณีได้รับรังสีจากหลายแหล่ง พื้นที่เลิกใช้แล้ว กรณีมีความเป็นไปได้ที่จะได้รับรังสีเกินขีดจำกัด เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินทางรังสี

22 หมวด ๖ ขีดจำกัดปริมาณรังสี

23 หมวด ๖ ขีดจำกัดปริมาณรังสี

24 หมวด ๖ ขีดจำกัดปริมาณรังสี

25 ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี
ขีดจำกัดปริมาณรังสี ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี อายุมากกว่าสิบแปดปี ทั่วร่างกาย 20 mSv/y (Avg. 5 y) 50 mSv/y (Max.) เลนซ์ดวงตา 20 mSv/y (เฉลี่ย 5 ปี) ผิวหนัง มือและเท้า 500 mSv/y อายุตั้งแต่สิบหกปีแต่ไม่เกินสิบแปดปี 6 mSv/y 20 mSv/y 150 mSv/y อายุต่ำกว่าสิบหกปี ประชาชนทั่วไป หญิงมีครรภ์หรือ อยู่ระหว่างการให้นมบุตร

26 ขีดจำกัดปริมาณรังสี ประชาชนทั่วไป ทั่วร่างกาย 1 mSv/y (Avg. 5 y)
เลนซ์ดวงตา 15 mSv/y ผิวหนัง มือและเท้า 50 mSv/y

27 หมวด ๗ ขีดจำกัดการปนเปื้อนทางรังสี
การปนเปื้อนทางรังสีบนพื้นภายในพื้นที่ควบคุม การปนเปื้อนทางรังสีบนพื้นภายในพื้นที่ตรวจตรา วัสดุที่การปนเปื้อนทางรังสีพื้นผิว ดำเนินการอย่างไร

28 หมวด ๗ ขีดจำกัดการปนเปื้อนทางรังสี

29 หมวด ๗ ขีดจำกัดการปนเปื้อนทางรังสี

30 ขีดจำกัดการปนเปื้อนทางรังสี
ดำเนินการ บนพื้นผิวภายในพื้นที่ควบคุม Β,ϒ,α(low) <= 4 Bq/cm2 α(other) <= 0.4 Bq/cm2 ควบคุมดูแล บนพื้นผิวภายในพื้นที่ตรวจตรา Β,ϒ,α(low) <= 0.4 Bq/cm2 α(other) <= 0.04 Bq/cm2 วัสดุที่มีการปนเปื้อนทางรังสีพื้นผิว ต้องชำระล้าง หากไม่ชำระล้างให้ดำเนินตามกฏกระทรวงดการกากกัมมันตรังสี วิธีชำระล้างตามมาตรฐานสากล


ดาวน์โหลด ppt กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google